ออกแบบสถาปัตยกรรม 3

Architectural Design 3

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจในการออกแบบ สำนักงาน และ ที่อยู่อาศัยร่วม ในเรื่อง การจัดทำรายละเอียดโครงการเบื้องต้น การวิเคราะห์ผู้ใช้, Program, ความต้องการเชิงพื้นที่, Site, กฎหมายที่เกี่ยวข้อง, มาตรฐานการออกแบบ, กระบวนการการออกแบบ, การจัดผัง, รูปแบบ, ที่ว่าง, วัสดุ, รายละเอียดทางสถาปัตยกรรม, เทคโนโลยีประกอบอาคาร และ การนำเสนอแบบขั้นสุดท้าย รวมทั้งคุณธรรม จริยธรรม ความรับผิดชอบ และการมีส่วนรวมในกิจกรรมการเรียนการสอน
นำข้อมูลจากประเมินผลการสอนโดยนักศึกษา และการผลการสอนใน มคอ 5 ของการเรียนการสอนครั้งที่ผ่านมา ทำการปรับเปลี่ยนสัดส่วนคะแนนในการเข้าชั้นเรียน ปรับโจทย์ Project Design ให้มีความชัดเจนมากขึ้น
1. คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา
- เพิ่มส่วนคะแนนการเข้าห้องเรียนการฟังเลคเชอร์รวม
2. ความรู้
- กำหนดโจทย์ Project Design ให้มีความความชัดเจนมากขึ้น
3. ทักษะทางปัญญา
- ไม่มี
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
- กำหนดกติกาการส่งงานช้าให้ชัดเจนมากยิ่งขึ้น
- เน้นย้ำเรื่องการตรงเวลา ทั้งในแง่การ Lecture การตรวจแบบ และ การส่งงาน ไม่มีการผ่อนปรน 
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
- ไม่มี
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการออกแบบอาคารสาธารณะขนาดกลางประเภทสำนักงาน อาคารพักอาศัยที่มีความหนาแน่น จัดทำกระบวนการออกแบบ โดยกำหนดองค์ประกอบโครงการ ขนาดพื้นที่ สำรวจและวิเคราะห์ที่ตั้งกำหนดแนวความคิดและทำการออกแบบสถาปัตยกรรมที่คำนึงถึงระบบโครงสร้างอาคาร และข้อกำหนดอาคารที่เกี่ยวข้อง มีการศึกษาดูงานนอกสถานที่
- 2 ชั่วโมง โดยระบุวัน เวลา ด้วยการแจ้งให้นักศึกษาทราบในชั่วโมงแรกของการสอน โดยเสนอให้อาจารย์ทุกท่านสร้างกลุ่ม Social Network เพื่อใช้ติดต่อกับนักศึกษา, แจ้งเกรดระหว่างการเรียน, และติดต่อเพื่อปรึกษานอกเวลา
- มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
- มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และ สิ่งแวดล้อม
- เน้นย้ำความสำคัญของการตรงต่อเวลา จัดตารางการเข้าพบ และการขึ้นนำเสนอตามลำดับชัดเจน รวมถึงการออกข้อตกลงในชั้นเรียนเรื่องการตรงต่อเวลาและการเสียสิทธิ์เมื่อไม่ส่งงานตรงเวลา
- ไม่มีการประนีประนอมต่อรอง ในการส่งงานไม่ตรงเวลา เพื่อพัฒนาเป็น Soft Skill 
- เช็คชื่อ
-มีความรู้ความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
-สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโยลีของสาขาวิชาที่ศึกษา
- สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- จัดการเรียนการสอนหลายรูปแบบ โดยใช้หลักการทางทฤษฎีและฝึกปฏิบัติให้เกิดความชำนาญในการประยุกต์ใช้ทฤษฎีและเครื่องมือต่างๆ
- จัดการเรียนการสอนโดยใช้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
- กำหนดโจทย์และเงื่อนไขที่สอดคล้องกับรูปแบบบูรณาการรายวิชาที่เกี่ยวเนื่องรวมทั้งพลวัตรการเปลี่ยนแปลงของบริบทต่างๆ
- การสอบด้วยการขึ้นนำเสนอผลงานขั้นสุดท้าย (Project Design)
- ประเมินจากผลงานและการนำเสนอผลงานออกแบบของนักศึกษา
- มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
- มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
- ใช้กิจกรรมการสอนการบริการวิชาการและการวิจัยที่บูรณาการกัน และปฎิบัติงานในสภาพปัญหาจริง ช่วยให้เกิดการพัฒนาองค์ความรู้ร่วมกันระหว่างนักศึกษา นักศึกษาและอาจารย์ และนักศึกษา อาจารย์กับชุมชนและสังคม
- ใช้การจัดการเรียนการสอนที่ยืดหยุ่น หลากหลายเพื่อสร้างทักษะทางปัญญา
- ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการนำเสนอผลงานการปฎิบัติของนักศึกษา
- สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
- การจัดการเรียนการสอนและการทำงานปฎิบัติกลุ่ม
- การอภิปรายกลุ่มเพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาได้นำเสนอแนวความคิดตนเองแลกเปลี่ยนและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
- ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการทำงานกลุ่ม การนำเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน เป็นการประเมินรายบุคคลของแต่ละกลุ่ม และสังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูล
- สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
- สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
- การจัดการเรียนการสอนรายวิชาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อฝึกปฎิบัติวิชาชีพ
- ฝึกทักษะเทคนิคการสื่อสารในการนำเสนอผลงานปฎิบัติและเลือกใช้เทคนิคที่มีประสิทธิภาพและหลากหลาย
- ประเมินจากทักษะการเลือกและการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการนำเสนอผลงาน
-ไม่มี
-ไม่มี
-ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 42011303 ออกแบบสถาปัตยกรรม 3
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม - มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ - มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อสังคม ตลอดภาคการศึกษา 20%
2 ความรู้ - มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา - สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา ตลอดภาคการศึกษา, 8 และ 16 35%
3 ทักษะทางปัญญา - มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ - มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ ตลอดภาคการศึกษา 20%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ - สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม ตลอดภาคการศึกษา, 2-4 15%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม - สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม ตลอดภาคการศึกษา, 8 และ 16 10%
วิมลสิทธิ์ หรยางกูร. (2537). การจัดทำรายละเอียดโครงการเพื่อการออกแบบงานสถาปัตยกรรม /วิมลสิทธิ์ หรยางกูร. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- พัฒนาการสำนักงานจากยุคโมเดิร์นสู่ยุคโพสท์โมเดิร์น (Slide)
- พัฒนาการที่อยู่อาศัยร่วม (Slide)
-http://www.carusostjohn.com/media/artscouncil/new_national_office/introduction/index.html
- http://www.pruitt-igoe.com/
1. การสอบถามนักศึกษาถึงข้อดีข้อเสียของรายวิชา เพื่อปรับปรุงในการสรุปการเรียนการสอนช่วงสอบปลายภาคและการสอบปลายภาค
2. นักศึกษาทำแบบประเมินความพึงพอใจผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
1. การประชุมอาจารย์ผู้สอนก่อนเปิดภาคเรียน เพื่อสรุปวิธีการ เกณฑ์ และเครื่องมือในการเรียนการสอน
2. การประชุมอาจารย์ผู้สอนระหว่างการเรียนการสอนทุกเดือนเพื่อรายงานความก้าวหน้าและอภิปราย วิธีการ / เกณฑ์ / เครื่องมือในการประเมินในการตรวจแบบร่างและการตรวจผลงานขั้นสุดท้าย
3. การประชุมอาจารย์ผู้สอน หลัง การเรียน การสอน เพื่อประเมิน วิธีการ เกณฑ์ และเครื่องมือในการเรียนการสอน
1. ข้อมูลจากการประเมินความพึงพอใจผู้สอนของนักศึกษา
2. ข้อเสนอแนะของนักศึกษาหลังจากการเรียนการสอน
3. ข้อเสนอ การประชุมอาจารย์ผู้สอนก่อน ระหว่าง และ หลังการเรียนการสอน
1. อาจารย์แสดงตัวอย่างการประเมินผลในรายวิชาเพื่อการทวนสอบ
2. มีการแจ้งคะแนน แก่ นักศึกษา ระหว่างการเรียนเพื่อให้นักศึกษาสามารถปรับปรุงตนเองระหว่างเรียน
1. ได้นำ ผลจากกลยุทธ์การประเมินในข้อที่ 1 และ 2 มาทำการปรับปรุง ในใบเก็บคะแนนที่อาจารย์ผู้สอนใช้ในการประเมิน ตามตัวอย่างแนบท้าย