อุปกรณ์ประกอบอาคาร

Equipment for Building

         1.รู้ทฤษฏีและหลักการพื้นฐานของงานระบบอาคาร และอุปกรณ์ประกอบอาคาร
             2. เข้าใจหลักการทำงานทั้งแบบจำแนกส่วน  และแบบประสานกัน
  3. พิจาณาเลือกใช้รูปแบบของงานระบบและอุปกรณ์ประกอบอาคารให้เหมาะสมกับลักษณะ และ
      ประเภทอาคาร
เพื่อให้เกิดความทันสมัยเกี่ยวกับเนื้อหาวิชา และปรับปรุงให้เหมาะกับความต้องการของผู้เรียนตาม
    ผลการประเมินในภาคการศึกษาที่ผ่านมา
ศึกษาทฤษฏีและหลักการพื้นฐานเกี่ยวกับงานระบบในอาคาร ระบบสุขาภิบาล ระบบไฟฟ้า และแสงสว่าง ระบบสื่อสาร ระบบเสียง ระบบปรับอากาศ  การระบายอากาศ ระบบบันไดเลื่อนและลิฟต์ ระบบป้องกันอัคคีภัยในอาคาร และระบบควบคุมอาคารอัตโนมัติ
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
 พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบต่อแนวความคิดที่นำมาใช้ในการออกแบบ ตกแต่งภายใน โดยผู้เรียนจะต้องใช้การคิดเชิงวิพากษ์ (Critical Thinking)  ในการกำกับแนวความคิดที่ใช้ในการออกแบบ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
มีวินัย  ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา  และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
สอดแทรกจริยธรรมระหว่างการเรียนการสอนทุกครั้ง ตรวจสอบการเข้าชั้นเรียน แสดงความคิดเห็นเรื่องความมีวินัย  ตรงต่อเวลา  และความรับผิดชอบต่อตนเอง มอบหมายงานให้รับผิดชอบเป็นกลุ่มให้ช่วยเหลือกัน ยกตัวอย่างกรณีศึกษางานก่อสร้างปรับปรุงอาคาร การมอบหมายงาน ศึกษาวิเคราะห์  รายงานสรุปและอภิปรายผล
 1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน
 1.3.2   ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
 1.3.3   ประเมินผลการนำเสนอรายงานที่มอบหมายและการสอบวัดประเมินผลในส่วนของ
          ความคิดเห็น
2.1.1  มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2  สามารถติดตามความห้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3  สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
 2.2.1    บรรยายวิธีการค้นคว้าข้อมูล  นักศึกษาฟังบรรยายเรียนรู้และฝึกปฏิบัติ
 2.2.2          แบ่งกลุ่มศึกษาหัวข้อที่สนใจ  เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 2.2.3     การศึกษาดูงานนอกสถานที่
 2.2.4     ทำเอกสารรายงานสรุปและอภิปรายผลและ สอบประเมินผล
 2.3.1  วัดพฤติกรรมการเข้าเรียน  การศึกษาดูงาน
 2.3.2  การนำเสนอผลงานที่ผู้เรียนเลือกศึกษา
 2.3.3   การทวนสอบผลสัมฤทธิ์
     3.1.1  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
 3.2.1  การศึกษาดูงานตัวอย่างกรณีศึกษางานก่อสร้างปรับปรุงอาคาร
 3.2.2  การมอบให้นักศึกษาเลือกหัวข้อโครงการที่สนใจ  ศึกษาแนวคิดและวิธีการปรับปรุงและ  
          เปลี่ยนแปลงประโยชน์ใช้สอย สรุปผล และอภิปรายกลุ่ม 
 3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
 3.3.2    วัดพฤติกรรมการเข้าเรียน การดูงาน สังเกตพฤติกรรมความใส่ใจและความคิดสะท้อนผ่านคำถามและการแก้ปัญหา
 3.3.3    วัดผลจากการประเมินโครงการที่แบ่งกลุ่มศึกษา  การนำเสนอผลงาน
         4.1.1   สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม              
4.2.1   การบรรยายรวมและจัดกิจกรรมกลุ่มเน้นการมีส่วนร่วมการทำรายงานวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.3   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3   นักศึกษาอภิปรายผล  การนำเสนอรายงาน
 4.3.1  ประเมินผลงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขต
4.3.2 ประเมินการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
4.3.3  การนำเสนอผลงานจากการวิเคราะห์
5.1.1   สามารถสืบค้น  ศึกษา  วิเคราะห์  และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.2.1  การอภิปรายแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง 
 5.2.2   นำเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
 ประเมินจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนองาน การทวนสอบผลสัมฤทธิ์
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรมจริยะธรรม 2.ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4.ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 3.มีวินัยขยันอดทนตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเองสัคมและสิ่งแวดล้อม 1.มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฎิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา 2.สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา 3.สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกาากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง 2.มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 3.ความสามารถทำงานเป็นทีมและความสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 2.สามารถสืบค้นศึกษาวิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อการแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
1 42013309 อุปกรณ์ประกอบอาคาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.6, 1.7, 2.1, 2.4 – 2.6, 3.2 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 4 9 12 18 10% 25% 10% 25%
2 1.1,1.6, 1.7,2.1, 2.4 – 2.6, 3.2,4.1 – 4.6,5.3-5.4 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 1.1 – 1.7, 3.1 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก 
1.     ความรู้เบื้องต้นวิศวกรรมงานระบบ                   ดร.เดชา  ธีระโกเมน และคณะ
2.     มาตรฐานระบบป้องกันอัคคีภัย                      คณะกรรมการมาตรฐานป้องกัน
อัคคีภัย ปี 2536 ว.ส.ท.
3.     วิศวกรรมการเดินท่อและติดตั้งสุขภัณฑ์         รศ.ดร.พิภพ  สุนทรสมัย
4.     การออกแบบระบบท่อภายในอาคาร               รศ.ดร.พิภพ  สุนทรสมัย
5.     ข้อกำหนดและกฎหมายในการออกแบบอาคาร ทรงศักดิ์  รวิรังสรรค์
6.     ระบบอุปกรณ์อาคาร                            ละออง     ศิริพัฒน์
7.     การออกแบบระบบท่ออาคารและสิ่งแวดล้อม
อาคาร เล่มที่ 2                                   ดร.เกรียงศักดิ์  อุดมสินโรจน์
8.     สถาปัตยกรรมและเทคโนโลยี                        ผศ.ธนิต  จินดาวนิต
9.     ลิฟท์                                         วัลลภ  เจริญรมย์
10.   การออกแบบระบบแสงสว่าง                  พิบูลย์  ดิษฐอุดม
11.   การออกแบบระบบแสงสว่าง                  ธนบูรณ์  ศศิภานุเดช
12.   มาตรฐานระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้                  คณะกรรมการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า
ว.ส.ท.
13.   อุปกรณ์และการติดตั้งในงานระบบไฟฟ้า                ศุลี  บรรจงวิจิตร
14.   70 เรื่อง น่ารู้เทคนิคไฟฟ้า                           รวบรวมบทความจาก เทคนิคเครื่องกล
ไฟฟ้า และอุตสาหกรรม
15.   การออกแบบระบบไฟฟ้า                              ธนบูรณ์  ศศิภานุเดช          

ความรู้เรื่องระบบปรับอากาศสำหรับสถาปนิก 2      ว.ส.ท. การปรับอากาศ                                          ว.ส.ท. ระบบในอาคารสูง                              ว.ส.ท. อาคารสูง                                  ผศ.จรัญพัฒน์  ภูวนันท์ HVAC Water Chillers and Cooling Towers    Stanford, Herbert W. (2012) Electrical Installation Calculations :

 Basic for Technical                                     Watkins, A.J., and Kitcher, Chris. (2009)

Mechanical and Electrical Equipment

for Buildings                                             Walter T. Grondzik, Alison G. Kwok,                        
                                                              Benjamin Stein, John S. ReynoldsJohn  
                                                              Wiley & Sons, 31 ม.ค. 2554 - 1792 หน้า

Architecture ebook building systems for

 interior designers (1)                               David V. Chadderton

Piping systems manual                             Brian Silowash, PE, CEM, LEED AP Hvac Engineer's Handbook, Eleventh Edition    F. Porges Air conditioning system                             QUA 3206/ MDM NURULAINI Fan coil unit & Air handling unit                  Muhammad Rabeet Sajid Water Chilled Air conditioning                    Aljon Altiche
กฎกระทรวง และเทศบัญญัติประกอบอาคาร
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia  Nectec E-Lerning  ASA.or.th green.kmutt.ac.th  energy.go.th  greennetworkthailand.com  newswit.com
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ