คณิตศาสตร์พื้นฐานสาหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

Mathematical Foundations for Computer Engineering

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับคณิตศาสตร์พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับงานทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยหัวข้อในวิยุตคณิต ได้แก่ ฟังก์ชัน ความสัมพันธ์ เซต พีชคณิตบูลีน ตรรกะลำดับที่หนึ่ง การพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์ การนับเบื้องต้น การวนซ้ำ และการเรียกซ้ำ หัวข้อในพีชคณิตเชิงเส้น ได้แก่ ฐาน ปริภูมิเวกเตอร์ การตั้งฉาก การเขียนระบบสมการเชิงเส้นในรูปแบบเมทริกซ์ เมทริกซ์ผกผัน การแปลงเชิงเส้น และการแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เมทริกซ์ และหัวข้อในเรื่องความน่าจะเป็นและสถิติ ได้แก่ ตัวแปรสุ่มวิยุต ตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง ค่าคาดหมาย และกระบวนการสโตแคสติก รวมถึงการใช้ซอฟต์แวร์เชิงคณิตศาสตร์ และการประยุกต์ใช้เพื่อแก้ปัญหาในเชิงวิศวกรรม
ปรับคำอธิบายรายวิชาให้ครอบคลุมตามมาตรฐานองค์ความรู้ของ สกอ. และมาตรฐานสากลของ ACM/IEEE สำหรับหลักสูตรวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
ศึกษาเกี่ยวกับคณิตศาสตร์พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับงานทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยหัวข้อในวิยุตคณิต ได้แก่ ฟังก์ชัน ความสัมพันธ์ เซต พีชคณิตบูลีน ตรรกะลำดับที่หนึ่ง การพิสูจน์ทางคณิตศาสตร์ การนับเบื้องต้น การวนซ้ำ และการเรียกซ้ำ หัวข้อในพีชคณิตเชิงเส้น ได้แก่ ฐาน ปริภูมิเวกเตอร์ การตั้งฉาก การเขียนระบบสมการเชิงเส้นในรูปแบบเมทริกซ์ เมทริกซ์ผกผัน การแปลงเชิงเส้น และการแก้ระบบสมการเชิงเส้นโดยใช้เมทริกซ์ และหัวข้อในเรื่องความน่าจะเป็นและสถิติ ได้แก่ ตัวแปรสุ่มวิยุต ตัวแปรสุ่มต่อเนื่อง ค่าคาดหมาย และกระบวนการสโตแคสติก รวมถึงการใช้ซอฟต์แวร์เชิงคณิตศาสตร์ และการประยุกต์ใช้เพื่อแก้ปัญหาในเชิงวิศวกรรม
-   อาจารย์ประจำรายวิชา ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
-  อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
(2) สามารถจัดการและคิดแก้ปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณ วิชาชีพครู (3) แสดงออกซึ่งการมีวินัย ขยัน อดทน เสียสละ ตรงต่อเวลา ความ รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ด
(1) ก าหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กรเพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบ วินัย ตรงต่อเวลา มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม สิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ดีเช่นการเข้าชั้น เรียนให้ตรงเวลา การแต่งกายตามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัย (2) ก าหนดให้นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการท างานกลุ่ม โดยฝึก ให้รู้บทบาทและหน้าที่ของการเป็นผู้น ากลุ่ม การเป็นสมาชิกกลุ่ม การเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็น ของผู้อื่น รวมทั้งการเห็นคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ (3) สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนแต่ละรายวิชา ในด้าน ความซื่อสัตย์สุจริตในการสอบ รวมทั้งการมีมารยาททางวิชาการ การไม่คัดลอกผลงานทางวิชาการของผู้อื่น (4) จัดกิจกรรมส่งเส ริม แล ะคิดแก้ปัญ ห าท างคุณ ธรรม จ ริยธรรม จรรยาบ รรณ วิชาชีพครูและการมีจิตส านึกสาธารณ ะ เช่น การยกย่องนักศึกษ าที่ท าความดี การท าประโยชน์และเสียสละแก่ส่วนรวม
(1) ประเมินด้านจิตพิสัยของนักศึกษา เช่น การตรงต่อเวลา การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามเวลาที่ก าหนด และการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
(2) ประเมินความรับผิดชอบในการท างานเป็นกลุ่ม การน าเสนอรายงานหน้า ชั้นเรียน และการรับฟังความคิดเห็นจากอาจารย์ผู้สอนและกลุ่มนักศึกษาในชั้นเรียน
(3) ประเมินจากรายงานการกระท าทุจริตในการสอบ การมีมารยาททาง วิชาการ และการตรวจสอบการคัดลอกผลงานทางวิชาการของผู้อื่น
(4) ประเมินผลจากรายงานการจัดกิจกรรมทางด้านคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครูและการมีจิตส านึกสาธารณะ
(1) มีความรอบรู้ในด้านความรู้ทั่วไป วิชาชีพครู และวิชาชีพเฉพาะ อย่าง กว้างขวาง ลึกซึ้ง และเป็นระบบ
(1) เลือกใช้วิธีการสอนให้เหมาะสมตามหัวข้อของลักษณะรายวิชา โดย การวิเคราะห์และสังเคราะห์ตามสภาพจริง (2) ส่งเสริมและชี้แนะให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากระบบเทคโนโลยี สารสนเทศทางวิชาการ รวมทั้งการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าองค์ความรู้ด้วยวิธีการที่ เหมาะสม แล้วน ามาประยุกต์สร้างผลงานทางวิชาการ (3) ส่งเสริมและชี้แนะการบูรณาการน าความรู้ร่วมกับศาสตร์อื่นๆ เพื่อน ามา ประยุกต์เข้ากับโลกแห่งความเป็นจริงได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนการฝึกงานในสถานประกอบการ และ ปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
(1) ประเมินผลตลอดภาคเรียน (2) ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
(3) ประเมินผลจากการน าเสนอโครงการ
(4) ประเมินผลจากการฝึกงานในสถานประกอบการ
(5) ประเมินผลจากการปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
(1) มีจินตนาการในการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาที่มี ความสลับซับซ้อน ในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนานวัตกรรม (2) มีทักษะในการเป็นผู้น าความรู้เพื่อการสืบค้นข้อมูล วินิจฉัย วิเคราะห์ และสรุปประเด็นของสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ
(1) ใช้กระบวนการเรียนการสอนที่หลากหลายซึ่งเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ โดยฝึกทักษะด้านปฏิบัติการ (2) ให้ผู้เรียนสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ แล้ววินิจฉัย และสรุป ประเด็นของสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ และเป็นระบบ
(1) ประเมินผลกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ (2) ประเมินผลจากการฝึกทักษะด้านปฏิบัติการ (3) ประเมินผลจากการอภิปรายแนวคิดและวิธีการแก้ปัญหา ในประเด็นที่ได้ จากการสืบค้นข้อมูลอย่างเป็นระบบ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 3 1 1 2 2
1 TEDEE302 คณิตศาสตร์พื้นฐานสาหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
1. Susanna S. Epp, Discrete Mathematics with Applications 4th, Brooks/Cole Publishing Co. Pacific Grove, CA, USA ©2010  ISBN:9780495391326
1. ดำเนินตามคู่มือการทวนสอบ ของ มทร.ล
https://webs.rmutl.ac.th/assets/upload/files/2018/09/20180927163514_50803.doc