วิศวกรรมการทาง

Highway Engineering

เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจระบบงานทางหลวง ลักษณะการจราจร เศรษฐศาสตร์ที่ใช้ในการวางแผนสร้างทาง ออกแบบทางด้านเรขาคณิต วัสดุที่ใช้ในงานทาง ออกแบบผิวทาง วิธีการก่อสร้างทางและการบำรุงรักษาทาง และเห็นความสำคัญของงานด้านวิศวกรรมการทาง
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานในงานทาง เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจไปใช้ในการวิเคราะห์และออกแบบงานถนน และเพื่อนำไปปฏิบัติใช้ได้จริงในการควบคุม การสร้างทางและออกแบบงานถนน หรือนำไปประยุกต์ใช้กับวิชาอื่นได้
ศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของถนน วิวัฒนาการทางหลวงในประเทศไทย หลักการเบื้องต้นของการวางแผนสร้างทางและการวิเคราะห์การจราจร การเงินและเศรษฐศาสตร์  การสำรวจและออกแบบทางด้านเรขาคณิต  วัสดุการทาง  การออกแบบถนนลาดยางและถนนคอนกรีต การระบายน้ำ การก่อสร้างและบำรุงรักษา
1
มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ กล้าแสดงความคิดเห็นและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น มีจรรยาบรรณทางวิชาการ มีวินัย และมีจรรยาบรรณวิชาชีพครูตามข้อบังคับของครุสภา
กำหนดกติกาของการเข้าชั้นเรียน ซึ่งมีคะแนนเข้าชั้นเรียน การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย ให้มีการทำรายงานเป็นกลุ่ม  เพื่อฝึกความเป็นผู้นำ และผู้ตาม ยอมรับการฟังความคิดเห็นของผู้อื่น สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม  ความรับผิดชอบและจรรยาบรรณวิชาชีพครู
1   ให้คะแนนการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงเวลา 2   สังเกตการทำงานในกลุ่ม  การแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ 3    สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ
1 มีความรู้และความเข้าใจในศาสตร์พื้นฐานเพื่อประยุกต์ใช้กับงานทางด้านการวิเคราะห์และออกแบบงานทาง 2 มีความรู้และความเข้าใจทฤษฎีในงานวิศวกรรมการทาง 3 สามารถวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ปัญหาได้ 4 สามารถใช้ความรู้และทักษะที่ได้ศึกษาในการปฏิบัติงานจริงได้
1  ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎี  ยกตัวอย่างสถานการณ์จริงประกอบการอธิบาย  มอบหมายให้ทำแบบฝึกหัด 2  อธิบาย ยกตัวอย่างวิธีวิเคราะห์ข้อมูล การคำนวณออกแบบ มอบหมายให้นักศึกษาทำการบ้าน 3   ให้มีการทำรายงานโดยให้ทำการสำรวจข้อมูล วิเคราะห์ และนำเสนอวิธีการแก้ปัญหา
1  สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค 2   ประเมินจากความถูกต้องของงานที่มอบหมาย 3   ประเมินจากความสมบูรณ์ของรายงาน การนำเสนองาน  
1 มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี 2 สามารถวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหา 3 สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง  เพื่อการเรียนรู้ตลอด
1 ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัด 2 ให้นักศึกษา ค้นคว้าบทความ งานวิจัยในงานทาง  เพื่อสามารถเสนอหัวข้อรายงาน
1  ประเมินผลจากความถูกต้องของแบบฝึกหัด 2  ประเมินผลจากความน่าสนใจของหัวข้อรายงาน  ความถูกต้อง และการนำไปใช้งาน
1 สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2 รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมาย สามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 อธิบายวิธีการเขียนและนำเสนอรายงาน 2 ปลูกฝังให้มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับในงานกลุ่ม
1 ประเมินผลจากรายงานและการนำเสนอ  2 สังเกตจากพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
1 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 2 มีทักษะในการสื่อสารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน
1  ยกตัวอย่างการนำเสนอที่มีรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม 2  อธิบายวิธีการจัดทำและนำเสนอรายงาน 3 ประยุกต์ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปช่วยคำนวณวิเคราะห์ แก้ปัญหาโจทย์การออกแบบ
1  ประเมินจากรูปแบบการนำเสนอรายงาน 2  ประเมินจากความถูกต้องของรายงาน 3 ความถูกต้องของคำตอบจากการวิเคราะห์ คำนวณ
ไม่มี
ไม่มี
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 4 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 33014403 วิศวกรรมการทาง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.4,2.1,.2,2.3,3.1,3.2,4.4 และ 5.3 สอบกลางภาค 9 35%
2 4.1,4.2,4.3,4.4,5.1,5.2,5.3,6.1 และ 6.2 -การนำเสนอรายงานการค้นคว้าแบบกลุ่มหรือการอภิปรายกลุ่ม -การตอบข้อซักถาม 16 20%
3 1.4,2.1,.2,2.3,3.1,3.2,4.4 และ 5.3 สอบปลายภาค 17 35%
4 1.1,1.2,1.3 และ 1.4 ตรวจสอบผลงานที่มอบหมาย -แบบฝึกหัดที่ส่ง -เวลาเรียน ตรงเวลา/สาย/ขาด -พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงของนักศึกษา/การแต่งกาย/ความตั้งใจ/ความรับผิดชอบ ตลอดภาคเรียน 10%
1. เอกสารเรียบเรียง 2.โปรแกรมประยุกต์ประกอบการวิเคราะห์ การคำนวณออกแบบ
1. จิรพัฒน์  โชติกไกร. (2531). วิศวกรรมการทาง. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์. 2. วันชัย ริจิรวนิช และ ชอุ่ม  พลอยมีค่า. (2539). เศรษฐศาสตร์วิศวกรรม.  พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 3. วัชรินทร์  วิทยกุล. (2549). เทคโนโลยีถนนยางมะตอย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์-มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
1. ทางหลวง  กระทรวงคมนาคม, (2535).  รายละเอียดและข้อกำหนดการก่อสร้างทางหลวง. 2. ธารี  ทฤฆชนม์.  การออกแบบทาง. เอกสารประกอบการบรรยายหลักสูตรงานทางสำหรับวิศวกร. สำนักสำรวจและออกแบบ. กรมทางหลวง. กระทรวงคมนาคม. 3. รักษ์  ศตายุ. การจัดลำดับความสำคัญในการบำรุงทาง. รายงานฉบับที่ วว 69. กองวิเคราะห์วิจัย. กรมทางหลวง. กระทรวงคมนาคม. 4. สำนักเร่งรัดพัฒนาชนบท กระทรวงมหาดไทย,  ความรู้พื้นฐานด้านช่าง–ทางหลวงชนบท. เอกสารประกอบคำบรรยายการอบรมหลักสูตรหัวหน้าส่วนโยธา องค์การบริหารส่วนตำบล.
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตของผู้สอน 2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้ 3.1   การประชุมกลุ่มย่อย 3.2   การผลิตสื่อการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบจากการสัมมนารายงานผลปฏิบัติการประสบการณ์วิชาชีพของผู้เรียน 4.2  มีการตรวจสอบข้อมูลย้อนกลับจากสถานประกอบการ หรือสถานศึกษา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการ