การออกแบบระบบไฟฟ้า

Electrical System Design

1.1 เข้าใจ หลักการออกแบบระบบไฟฟ้า
1.2 เข้าใจ มาตรฐานและข้อกำหนด ผังการจ่ายกาลังไฟฟ้า
1.3 เข้าใจการออกแบบ ผังการจ่ายกาลังไฟฟ้า สายไฟฟ้า และทางเดินสาย อุปกรณ์ไฟฟ้าและบริภัณฑ์ไฟฟ้า
1.4 เข้าใจ การคำนวณโหลด การปรับปรุงตัวประกอบกาลังและการออกแบบชุดตัวเก็บประจุ
1.5 เข้าใจ การออกแบบวงจรแสงสว่างและวงจรเครื่องใช้ไฟฟ้า การออกแบบวงจรมอเตอร์ไฟฟ้า ตารางโหลด สายป้อนและสายประธาน ระบบไฟฟ้า ระบบไฟฉุกเฉิน
1.6 เข้าใจ การคำนวณกระแสลัดวงจร และ การต่อลงดินสาหรับระบบไฟฟ้า
1.7 มีเจตคติที่ดีต่อรายวิชาออกแบบระบบไฟฟ้า
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ขั้นพื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนาความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการออกแบบระบบไฟฟ้า เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่างอ้างอิงให้สอดคล้องกับความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการออกแบบระบบไฟฟ้า มาตรฐานและข้อกำหนด ผังการจ่ายกำลังไฟฟ้า สายไฟฟ้า และทางเดินสาย อุปกรณ์ไฟฟ้าและบริภัณฑ์ไฟฟ้า การคำนวณโหลด การปรับปรุงตัวประกอบกำลังและการออกแบบชุดตัวเก็บประจุ การออกแบบวงจรแสงสว่างและวงจรเครื่องใช้ไฟฟ้า การออกแบบวงจรมอเตอร์ไฟฟ้า ตารางโหลด สายป้อนและสายประธาน ระบบไฟฟ้า ระบบไฟฉุกเฉิน การคำนวณกระแสลัดวงจร การต่อลงดินสำหรับระบบไฟฟ้า
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ประมาณ 1 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 มีวินัย ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น สานึกในหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น รวมทั้งเคารพในสิทธิ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
1.2.1 อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในการสอน
1.2.2 กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย
1.2.3 เน้นการเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและการแต่งกายให้เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
1.2.4 มอบหมายให้นักศึกษาทางานเป็นกลุ่ม ฝึกการเป็นผู้นา สมาชิกกลุ่ม ฝึกความรับผิดชอบ
1.2.5. การเป็นแบบอย่างที่ดีของอาจารย์
1.3.1 ประเมินจากการตรงต่อเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานที่ได้รับมอบหมาย การเข้าร่วมกิจกรรม
1.3.2 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.3.3 ประเมินจากพฤติกรรมการเรียนและการสอบ
2.1.1 เข้าใจความรู้พื้นฐานของศาสตร์สาขาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดารงชีวิต
2.1.2 มีความรอบรู้ โดยการผสมผสานเนื้อหาในศาสตร์ต่าง ๆ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม
2.1.3 แสวงหาความรู้จากงานวิจัย หรือแหล่งเรียนรู้อื่นๆ
2.2.1 เน้นการเรียนการสอนที่เป็น active learning
2.2.2 จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง
2.3.1 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.3.2 ประเมินจากรายงานการศึกษาค้นคว้าของนักศึกษา
2.3.3 ประเมินจากการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2.3.4 ประเมินจากพฤติกรรมการทางานอื่นๆ
3.1.1 สามารถบูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองและส่วนรวม
3.1.2 สามารถสืบค้นและประเมินข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
3.1.3 สามารถคิดวิเคราะห์ รู้เท่าทันสถานการณ์และแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
3.1.4 สามารถนาความรู้ ไปเชื่อมโยงกับภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อทำความเข้าใจและสร้างสรรค์สังคม
3.2.1 จัดกระบวนการเรียนการสอนที่ฝึกทักษะการคิดในระดับบุคคล เช่น สะท้อนคิด อภิปรายกลุ่ม การทำกรณีศึกษา ฯลฯ
3.2.2 จัดกิจกรรมให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติงานจริง
3.3.1 การใช้ข้อสอบหรือแบบฝึกหัดที่ให้นักศึกษาคิดแก้ปัญหา
4.1.1 มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่ในฐานะผู้เรียน
4.1.2 สามารถปรับตัว รับฟัง ยอมรับความคิดเห็น และทางานร่วมกับผู้อื่นได้
4.1.3 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงานในองค์กรและกับบุคคลทั่วไป
4.1.4 สามารถรวมกลุ่มคิดริเริ่ม วางแผน และตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างเหมาะสม รวมทั้งดารงชีวิตได้อย่างมีความสุข
4.1.5 รับผิดชอบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
4.2.1 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการฝึกทักษะการใช้คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้าในการแก้ปัญหา
4.2.2 สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบ การมีมนุษยสัมพันธ์ การเข้าใจวัฒนธรรมขององค์กร ฯลฯ
4.3.1 สังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาขณะเรียน
4.3.2 ประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
5.1.1 สามารถใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียน
5.1.2 ก้าวทันเทคโนโลยีปัจจุบันและสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมกับสถานการณ์ เพื่อการสืบค้น ศึกษาด้วยตนเอง นำเสนอ และสื่อสาร
5.1.3 เข้าใจปัญหา วิเคราะห์ และเลือกใช้กระบวนการทางคณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้าที่เหมาะสมในการแก้ปัญหา
5.2.1 จัดการเรียนการสอนที่เน้นการฝึกทักษะการใช้คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้าในการแก้ปัญหา โดยอาศัยการฟัง การเขียน ในระหว่างผู้เรียน ผู้สอน และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ
5.2.2 จัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนใช้คณิตศาสตร์วิศวกรรมไฟฟ้าในการแก้ปัญหา
5.3.1 การสอบภาคทฤษฎี
5.3.2 งานที่มอบหมาย
e
e
e
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 2 2 1, 2, 3, 4 1, 2, 3
1 32082310 การออกแบบระบบไฟฟ้า
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9, 1ึ7 30%, 30%
2 การทำแบบฝึกหัด 15-17 10%
3 งานที่มอบหมาย 15-17 30%
การออกแบบระบบไฟฟ้า, ประสิทธิ์ พิทยพัฒน์, ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย 2548
หลักการและเทคนิคการออกแบบระบบไฟฟ้า, ศุลี  บรรจงจิตร, ซีเอ็ดยูเคชั่น 2556
มาตรฐานการป้องกันฟ้าผ่า, ว.ส.ท. มาตรฐานการติดตั้งทางไฟฟ้าในสถานที่เฉพาะ : บริเวณสถานพยาบาล, ว.ส.ท. มาตรฐานระบบไฟฟ้าแสงสว่างฉุกเฉิน และโคมไฟป้ายทางออกฉุกเฉิน, ว.ส.ท. คู่มือความปลอดภัยด้านไฟฟ้าแรงสูง
เว็ปไซต์ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงรายได้ให้นักศึกษาเข้าประเมินผลการเรียนการสอนทางเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยฯ โดยการนำแนวคิดและความคิดเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- ข้อแนะนำผ่านเว็บบอร์ดใน LMS ประจำรายวิชาที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ใช้กลยุทธ์ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนดังนี้
- สังเกตการสอนของผู้ร่วมทีมสอน
- ประเมินจากผลการประเมินผู้สอนและผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินผลการเรียนรู้
หลังจากได้รับผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และสรรหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา จะมีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3 และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4