การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง

Electric Power System Analysis

1.1 เข้าใจหลักการคำนวณโครงข่ายการส่งและจ่ายกำลังไฟฟ้า
1.2 แก้ปัญหาโหลดโฟลว์และการควบคุมโหลดโฟลว์
1.3 วิเคราะห์วงจรลัดแบบสมมาตร
1.4 วิเคราะห์วงจรลัดแบบไม่สมมาตร
1.5 วิเคราะห์เสถียรภาพในระบบไฟฟ้ากำลัง
1.6 วิเคราะห์การส่งและการจ่ายไฟฟ้าแบบประหยัดของระบบไฟฟ้ากำลัง
มีการปรับปรุงเนื้อหาให้สอดคล้องกับระบบมาตรฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาและที่สภาวิศวกรกำหนด
ศึกษาเกี่ยวกับการคำนวณโครงข่ายการส่งและการจ่ายกำลังไฟฟ้า โหลดโฟล์ว การควบคุมโหลดโฟล์ว การวิเคราะห์วงจรลัดแบบสมมาตร การวิเคราะห์วงจรลัดแบบไม่สมมาตร เสถียรภาพในระบบไฟฟ้ากำลัง การส่งและการจ่ายไฟฟ้าแบบประหยัด
- 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรมไทย ตระหนักในคุณ ค่าของระบบคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เคารพกฎ ระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นหมู่คณะ สามารถแก้ไขข้อขัดแย้งตาม ลำดับความสำคัญ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สามารถวิเคราะห์และประเมินผลกระทบจากการใช้ความรู้ทางวิศวกรรมไฟฟ้าต่อบุคคล องค์กร สังคมและสิ่งแวดล้อม มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิด ชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้า ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.2.1     แนะนำและยกตัวอย่าง ระเบียบการเข้าชั้นเรียน
1.2.2    อภิปรายกลุ่ม
1.2.3    กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้อง หรือกำหนดบทบาทสมมุติ
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา
มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้า และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี


มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญ ทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรมไฟฟ้า สามารถในการบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้ากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง สามารถวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสม สามารถใช้ความรู้และทักษะในสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า ในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้
อธิบาย ยกตัวอย่างประกอบ สอนตามเนื้อหาวิชา ตามหลักวิชาการ ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทางโดยการเปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับวิชาการ ในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน ลงมือปฏิบัติตามใบงานที่ได้รับมอบหมาย
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2 สังเกตพฤติกรรมนักศึกษา
2.3.3 ให้คะแนนจากใบงาน การสอบข้อเขียนและปฏิบัติ ทั้งกลางภาค และ ปลายภาค
3.1.1 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อหาสาเหตุ หรือผลกระทบที่เกิดขึ้นในระบบไฟฟ้ากำลัง การแก้ไขปัญหาเบื้องต้น
สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมไฟฟ้าได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการ
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาวิเคราะห์และแก้ไขปัญหา และการนำเสนอผลงาน
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.2.3   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1   จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2   มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
4.2.3   การนำเสนอรายงาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
5.1.1 มีทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์ สำหรับการทำงานที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพวิศวกรรมไฟฟ้าได้เป็นอย่างดี
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3 มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ ต่อการแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องทางด้านวิศวกรรมไฟฟ้าได้อย่างสร้างสรรค์
5.1.4 สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณ และเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบวิชาชีพในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้าได้
5.1.5 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.6 พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.7 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร เช่น การส่งทางอีเมล์ การสร้างห้องแสดงความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ เช่น Wed Board Blog การสื่อสารการทำงานในกลุ่มผ่านห้องสนทนา Chat Room
5.1.8 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 สอน อธิบาย ยกตัวอย่าง ตามวิชาการ ใช้การสอนแบบสื่อสารสองทาง เปิดโอกาสให้นักศึกษามีการตั้งคำถามหรือแสดงความคิดเห็นที่เกี่ยวข้องกับวิชาการ ในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน ลงมือปฏิบัติตาม
5.2.2 ใบงานที่ได้รับมอบหมาย
5.2.3 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
e
e
e
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรมและจริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 2 2 2 1, 2, 3, 4 1, 2, 3
1 32082306 การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 แบบฝึกหัดท้ายบทเรียนของแต่ละสัปดาห์ การทดสอบย่อย (Quiz) 5 ครั้ง 1-15 10%
2 แบบฝึกหัด 1-15 10%
3 โปรแกรมการคำนวณโหลดโฟล์ว งานกลุ่มเขียนโปรแกรม Mat lab เกี่ยวกับโหลดโฟล์วและฟอลต์ 8, 15 10%
4 ตามเนื้อหารายวิชาที่ได้เรียนมา การสอบกลางภาค 9 30%
5 ตามเนื้อหารายวิชาที่ได้เรียนมา การสอบปลายภาค 17 30%
6 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม 1-15 5%
7 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมกลุ่ม การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทางานกลุ่ม โดยนักศึกษาสมาชิกกลุ่ม 8, 15 5%
"เอกสารประกอบการสอนวิชาการวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง ",              
วิเชษฐ  ทิพย์ประเสริฐ
“การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง”, โตศักดิ์ ทัศนานุตริยะ
“การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง”, ธนวัฒน์  ฉลาดสกุล
“การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลังในงานวิศวกรรม”,  ชำนิ  ใจประดิษฐ์ธรรม
“การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง”, ธนวัฒน์  ฉลาดสกุล
“การวิเคราะห์ระบบไฟฟ้ากำลัง”,  พิชัย อารีย์
“Power System Analysis”, Grainger J.J., and Stevenson W.D.
ไม่มี
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยฯ
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยสาขาวิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา แล้วจัดทารายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ. กำหนดทุกภาคการศึกษา สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอน/การวิจัยในชั้นเรียน และมอบหมายให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชาที่มีปัญหา ทาวิจัยในชั้นเรียนอย่างน้อยภาคการศึกษาละ              1 รายวิชา มีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทาหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของสาขาวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนาเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดาเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนาเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจาหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสาหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป