การออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง

Package Design for Transportation

รู้หลักการออกแบบและขั้นตอนการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง วัสดุและกรรมวิธีการผลิตบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง มาตรฐานบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง
เพื่อเปลี่ยนแปลงเนื้อหาให้ทันสมัยสอดคล้องกับมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา และฝึกปฏิบัติการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง โดยมุ่งสนองนโยบายการพัฒนาบัณฑิตที่พึงประสงค์
       ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ของการผลิตสินค้าเพื่อการขนส่ง ปัจจัยที่เป็นพื้นฐาน หลักการและขั้นตอนในออกแบบบรรจุภัณฑ์สินค้าเพื่อการขนส่ง คุณสมบัติพื้นฐานของวัสดุที่นำมาใช้ในการออกแบบ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มผู้ใช้ ประโยชน์ใช้สอย ความสวยงาม วัสดุและกรรมวิธีการผลิต ความปลอดภัย และความเป็นไปได้ในการผลิต
อาจารย์ประจำรายวิชา จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์  
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 สอนโดยสอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรม
1.2.2 ปลูกฝังจรรยาบรรณของนักออกแบบ
1.2.3 ปลูกฝังงานพื้นฐานเพื่อฝึกความมีวินัย อดทน ตรงต่อเวลา
1.2.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าเรียนและการแต่งกาย
1.3.2 ประเมินจากการพฤติกรรมการปฏิบัติการและการสอบ
1.3.3  ประเมินจากความรับผิดชอบในการส่งงาน หน้าที่ที่ได้รับ การเข้าร่วมกิจกรรมต่าง ๆ
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฏีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 ใช้วิธีการฝึกปฏิบัติตามเนื้อหาของการออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่งโดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการนำไปใช้
2.2.2  เน้นให้นำความรู้ทางด้านวัสดุศาสตร์ดั้งเดิม และทันสมัย เทคโนโลยีมาเชื่อมโยง
2.2.3  จัดกิจกรรมการเรียนในการบูรณาการความรู้ในวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.3.1 ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี
2.3.2 การปฏิบัติประเมินจากการทำต้นแบบบรรจุภัณฑ์ค้าปลีก และบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง
3.1.1  มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2  มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
3.2.1  ฝึกการใช้ความคิดสร้างสรรค์ โดยประยุกต์จากองค์ความรู้ในรายวิชา
3.2.2  จัดการเรียนรู้โดยการแก้ปัญหาจากการปฏิบัติจริง
3.3.1  ตรวจสอบกระบวนการคิดของนักศึกษาจากแนวความคิด และผลการปฏิบัติงาน
4.1.1  มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3  สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
 
 
4.2.1  จัดกิจกรรมรายบุคคล และกิจกรรมที่เน้นการทำงานเป็นกลุ่ม
4.2.2  สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบ การมีมนุษยสัมพันธ์ การเข้าใจวัฒนธรรมองค์กร
4.2.3  สอดแทรกกรณีศึกษา ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม
4.3.1 สังเกตพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษารายบุคคล หรือขณะร่วมกิจกรรมกลุ่ม
4.3.2 ประเมินความรับผิดชอบในหน้าที่ งานที่ได้รับมอบหมาย
4.3.3 การแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า หรือการประสานงาน หรือความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคม
5.1.1  สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2  สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3  สามารถใช้ภาษาไทยหรือ ภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 จัดการเรียนการสอนที่ต้องอาศัยทักษะคอมพิวเตอร์ หรือเครื่องมือสื่อสาร
5.2.2 จัดการเรียนการสอนที่สืบค้นข้อมูล และเทคโนโลยีในการนำเสนองาน
5.2.3 จัดการเรียนการสอนที่เน้นทักษะการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การเขียน การนำเสนอผลงาน
 
5.3.1 ตรวจสอบกระบวนการคิดจากการปฏิบัติการ
5.3.2 ตรวจสอบข้อมูลที่สืบค้น และการใช้เทคโนโลยีอย่างถูกต้อง
5.3.3 ทักษะการฟัง และการพูด จากการทำงานรายเดี่ยว หรือกลุ่มในการปฏิบัติการ ทักษะการเขียน การ อ่านจากการเขียนรายงานภาคเอกสาร และผลการปฏิบัติ
 
 
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1. มีจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม 1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ 1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฏีที่สำคัญในเนื้อหาที่ศึกษา 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา 2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 3.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ 3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 4.1 มีมนุษย์สัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี 4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม 5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ปัญหาอย่างเหมาะสม 5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือ ภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 44012014 การออกแบบบรรจุภัณฑ์เพื่อการขนส่ง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1.3 การเข้าพบอาจารย์ที่ปรึกษา การแต่งกาย การตรงต่อเวลา 1-17 10 %
2 2.1.1, 2.1.2, 3.1.1, 3.1.2 สอบกลางภาค 9 15 %
3 2.1.1, 2.1.2, 3.1.1, 3.1.2 สอบปลายภาค 18 15 %
4 3.1.2, 4.1.3, 5.1.1 ผลการปฏิบัติงานรายสัปดาห์ 1-10 40 %
5 3.1.2, 4.1.3, 5.1.1 ผลงานการปฏิบัติโครงงาน 11-16 20 %
1. คำนาย อภิปรัชญาสกุล. ระบบบรรจุภัณฑ์ในงานโลจิสติกส์. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2553. สำนักพิมพ์โฟกัสมีเดีย แอนด์ พับลิชชิ่ง, กรุงเทพมหานคร.
2. ชัยรัตน์ อัศวางกูร. ออกแบบให้โดนใจ.  คู่มือการออกแบบบรรจุภัณฑ์สำหรับผู้ประกอบการและนักออกแบบ พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2548. สำนักพัฒนา อุตสาหกรรมสนับสนุน กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม, กรุงเทพมหานคร.
3. ดวงฤทัย ธำรงโชติ. เทคโนโลยีภาชนะบรรจุ. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2550. สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์, กรุงเทพมหานคร.
4. ดำรงศักดิ์ ชัยสนิท และก่อเกียรติ วิริยะกิจพัฒนา. การบรรจุภัณฑ์. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2537.สำนักพิมพ์วังอักษร, กรุงเทพมหานคร.
5. ดำรงศักดิ์ ชัยสนิท. การจัดจำหน่าย. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2537. สำนักพิมพ์วังอักษร, กรุงเทพมหานคร.
6. ดำรงศักดิ์ ชัยสนิท. การเก็บรักษาสินค้า. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2538. สำนักพิมพ์วังอักษร, กรุงเทพมหานคร.
7. ประชิด ทิณบุตร. การออกแบบบรรจุภัณฑ์. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2531. สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์, กรุงเทพมหานคร.
8. ปุ่น คงเกียรติเจริญ, บรรจุภัณฑ์อาหาร. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2541. บริษัท โรงพิมพ์หยี่เฮง, กรุงเทพมหานคร.
9. ปุ่น คงเกียรติเจริญ, รวมบทความ บรรจุภัณฑ์ (พ.ศ.2544-2547). พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2547. บริษัทแพคเมทส์, กรุงเทพมหานคร.
10. พรชัย ราชตนะพันธุ์, พลศาสตร์การบรรจุ. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2550. หน่วยพิมพ์เอกสาร งานการศึกษา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.  
11. มยุรี ภาคลำเจียก, บรรจุภัณฑ์สินค้าอุปโภคบริโภค. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2556. บริษัท โรงพิมพ์หยี่เฮง, กรุงเทพมหานคร.
12. มยุรี ภาคลำเจียก, รอบรู้บรรจุภัณฑ์. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ.2558. บริษัทจินดาสาสน์การพิมพ์, กรุงเทพมหานคร.
13. วรรณชนก จอมราชคน และปณิตา สนอ่อม, การบรรจุภัณฑ์. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2552. เจริญรุ่งเรืองการพิมพ์, กรุงเทพมหานคร.
14. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. คู่มือการใช้ไม้เพื่อการหีบห่อ. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2532. สำนักพิมพ์ศูนย์การบรรจุหีบห่อไทย, กรุงเทพมหานคร.
15. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หลักการออกแบบบรรจุภัณฑ์. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2546. ห้างหุ้นส่วนจำกัด บางกอกบล็อก, กรุงเทพมหานคร.
16. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. การใช้กระดาษเพื่อการหีบห่อ. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2545. ห้างหุ้นส่วนจำกัด อรุณการพิมพ์, กรุงเทพมหานคร.
17. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. การใช้แก้วเพื่อการหีบห่อ. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2546. ห้างหุ้นส่วนจำกัด ไอเดียสแควร์, กรุงเทพมหานคร.
18. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. การใช้พลาสติกเพื่อการหีบห่อ. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2546. ห้างหุ้นส่วนจำกัด ไอเดียสแควร์, กรุงเทพมหานคร.
19. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. การใช้โลหะเพื่อการหีบห่อ. พิมพ์ครั้งที่ 1 พ.ศ. 2546. ห้างหุ้นส่วนจำกัด ไอเดียสแควร์, กรุงเทพมหานคร.
- ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
       การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้
     1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
     1.2 การสะท้อนความคิดจากพฤติกรรมของผู้เรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
    2.1  ผลการสอบ และผลงานภาคปฏิบัติ
    2.2  จากการประเมินของนักศึกษา
      หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
     3.1 อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา และจากผลงานรายเดี่ยวประจำสัปดาห์และโครงงาน
    3.2 ประชุมร่วมกันเพื่อหาแนวทางการจัดการเรียนการสอน
          ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา แบบฝึกหัดหรือการตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาผลจากการ สังเกต  การฝึกปฏิบัติ การทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
         4.1  การให้คะแนนผลงานการนำเสนองาน ผลงานภาคปฏิบัติประจำสัปดาห์ และโครงงาน
          4.2  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
      จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
      5.1  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  มาวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น    
     5.2  เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์ และงานวิจัยในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา