ออกแบบตกแต่งภายใน

Interior Design

ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีสำหรับการออกแบบตกแต่งภายใน แนวคิดและกระบวนการออกแบบภายในอาคารพักอาศัย โครงสร้างอาคารการจัดพื้นที่ใช้สอยสำหรับอาคารพักอาศัย การจัดวางเครื่องเรือน และระบบที่เกี่ยวข้อง การเลือกใช้สีและวัสดุตกแต่ง
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับ การออกแบบตกแต่งภายในอาคารพักอาศัย โครงสร้างอาคารการจัดพื้นที่ใช้สอยสำหรับอาคารพักอาศัย การจัดวางเครื่องเรือน และระบบที่เกี่ยวข้อง การเลือกใช้สีและวัสดุตกแต่ง
ฝึกปฏิบัติอกกแบบงานตกแต่งภายใน สัญลักษณ์ มาตราส่วน สี แนวคิดและกระบวนการออกแบบตกแต่ง การจัดวางเฟอร์นิเจอร์ ประโยชน์ใช้สอย การเลือกใช้สี และวัสดุตกแต่งภายในอาคาร
๑.๑  คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
            - มีคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
            - มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น
            - เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น
            - เคารพกฎระเบียบและมีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ
          ๑.๒  วิธีการสอน
            - ศึกษาและฝึกปฏิบัติในรายวิชาและสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมควบคู่กันไป
          ๑.๓  วิธีการประเมินผล
            - การตรงต่อเวลา การเข้าชั้นเรียน และการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย
- บรรยายและฝึกปฏิบัติ
มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบตกแต่งภายในอาคารพักอาศัย
บรรยายและฝึกปฏิบัติ
- จากการฝึกปฏิบัติในชั่วโมงเรียนและนอกเวลาเรียน
             - ข้อสอบกลางภาคและปลายภาค
พัฒนาความสามารถในการคิดและวิเคราะห์กระบวนการออกแบบอย่างมีระบบ
บรรยายและฝึกปฏิบัติ
จากการฝึกปฏิบัติในชั่วโมงเรียนและนอกเวลาเรียน
              - ข้อสอบกลางภาคและปลายภาค
การทำงานกลุ่มการแบ่งความรับผิดชอบ
บรรยายและฝึกปฏิบัติ
จากงานที่ได้รับมอบหมาย
การสืบค้นจากหนังสือ และทางอินเตอร์เน็ต
บรรยายและฝึกปฏิบัติ
จากงานที่ได้รับมอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรม จริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ุ6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAAID117 ออกแบบตกแต่งภายใน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การประเมินผล สอบกลางภาค สอบปลายภาค การฝึกปฏิบัติในชั่วโมงเรียนและนอกเวลาเรียน การเข้าเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด 9 18 ปลายภาคการศึกษา ตลอดภาคการศึกษา 20% 20% 50% 10%
- นักศึกษานำผลงานตนเองมาเสนอแนวความคิดต่อเพื่อนในชั้นเรียน
     - การประเมินโดยผู้สอนและเพื่อนในชั้นเรียน
     - การสังเกตการณ์ หรือทีมผู้สอนจากผลงาน
     - ผลการเรียนของนักศึกษา
    - การปรับปรุงการสอน การค้นคว้าหาข้อมูลในสถานประกอบการ
    - การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
- กระบวนการสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา ดังนี้
    - ออกแบบในชั้นเรียนในเวลาจำกัด
    - การประกวดผลงาน
    - พานักศึกษาไปศึกษาดูงานบริษัทและโรงงานเครื่องเรือน
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี
    - เชิญผู้เชี่ยวชาญมาร่วมในการเรียนการสอน