ปฏิบัติการออกแบบเซรามิก 1

Ceramics Design Practice 1

กำหนดแนวคิดในการออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกประเภทของที่ระลึกและของตกแต่ง การศึกษาข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกประเภทของที่ระลึกและของตกแต่ง  การร่างภาพและการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์เซรามิก การสร้างชิ้นงานผลิตภัณฑ์ต้นแบบประเภทของที่ระลึกและของตกแต่งเซรามิก และสรุปผลการออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิก
อให้นักศึกษามีความรู้ด้านแนวคิดในการออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกประเภทของที่ระลึกและของตกแต่ง เป็นการเตรียมความพร้อมด้านการผลิตผลิตภัณฑ์เซรามิก ในการนำความรู้ ความเข้าใจหลักการและทักษะการออกแบบรูปทรงให้สัมพันธ์กับลวดลาย เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกที่ใช้กับอาหาร โครงงานเซรามิก และยังสามารถนำไปใช้ในการประกอบอาชีพการรับจ้างผลิตผลิตภัณฑ์เซรามิก และนักออกแบบเซรามิก
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ กำหนดแนวคิดในการออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกประเภทของที่ระลึกและของตกแต่ง การศึกษาข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกประเภทของที่ระลึกและของตกแต่ง  การร่างภาพและการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์เซรามิก การสร้างชิ้นงานผลิตภัณฑ์ต้นแบบประเภทของที่ระลึกและของตกแต่งเซรามิก และสรุปผลการออกแบบผลิตภัณฑ์เซรามิก
 -    อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.1 ซื่อสัตย์สุจริตมีวินัยและมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.2 มีจิตคติที่เปิดกว้างยอมรับฟังแนวคิดขอผู้อื่น
1.1.3 มีจิตอาสาจิตสำนึกสาธารณะ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรง
2.1.1  รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
2.1.2  มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปีญหาและพัฒนาทางด้านเซรามิกอย่างเป็นระบบ
บรรยาย  สาธิต ยกตัวอย่าง และปฏิบัติงาน
2.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการปฏิบัติงาน
3.1.1  สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน
3.1.3  สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชการและวิชาชีพได้
3.1.4  มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
3.2.1   บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
3.2.2   สาธิตการขึ้นรูปด้วยมือ
3.2.3   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   สอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการออกแบบอุตสาหกรรมเซรามิก
3.3.2   วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1  มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี
4.2.1   มอบหมายงานรายบุคคล
4.2.2   การนำเสนองาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากผลงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
 
5.1.1   สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประมิทธิภาพ
5.1.2   สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.3   มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานเซรามิก
5.2.1   มอบหมายงานให้ปฏิบัติด้วยตนเอง
5.2.2   มอบหมายงานให้ปฏิบัติและสร้างสรรค์ด้วยตนเอง
5.3.1   ประเมินจากผลงาน และการนำเสนอด้วยหลักการและแนวทางการแก้ปัญหา
 5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
 6.1.1มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
6.1.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
6.1.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
6.2.1   มอบหมายงานให้ปฏิบัติด้วยตนเอง
6.2.2   มอบหมายงานให้ปฏิบัติและสร้างสรรค์ด้วยตนเอง
6.3.1   ประเมินจากผลงาน
6.3.2   ประเมินจากผลงานการสร้างสรรค์
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BTECE132 ปฏิบัติการออกแบบเซรามิก 1
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย สอบกลางภาค สอบปลายภาค การปฏิบัติงานและผลงาน จิตพิสัย สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 8 สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 17 การปฏิบัติงานและผลงาน ตลอดภาคเรียน จิตพิสัย ตลอดภาคเรียน สอบกลางภาค 15% สอบปลายภาค 15% การปฏิบัติงานและผลงาน 60% จิตพิสัย 10%
1. กลยุทธ์ (นามแฝง). (2543). Market Trend : วิเคราะห์สี ชี้ Trend ตลาด กับเนลลี่ โรดี  Giving Ideas.  2(5)  62
2. กองส่งเสริมหัตถกรรมไทย กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2538). แนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์หัตกรรมไทย ในประเทศสหรัฐอเมริกา. กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.
3. กองส่งเสริมหัตถกรรมไทย กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2539). ผลิตภัณฑ์หัตกรรมในตลาดสหรัฐอเมริกา. กรุงเทพฯ: ประชาชน.
4. กิจฐิภัทร  เทพาคำ. (2543). Giving Fortune : คุยกันเรื่องบ้าน ดวง และฮวงจุ้ย  Giving Ideas.  2(5)  42-43
5. กฤษณา  คำไทย. (2543). Intro Gift Mart : ตลาดของขวัญของชำร่วยญี่ปุ่น  Giving Ideas.  2(5)  32-35
6. กฤษณา  คำไทย. (2543). Intro Gift Mart : ตลาดของขวัญของชำร่วยดูไบ  Giving Ideas.  2(5)  36-39
7. จิรวรรณ  สุขพัฒน์. (2540). Hotline Ceramic : คุยกับราชาของที่ระลึกขนาดเล็ก คิด โรจนเพ็ญกุล  เซรามิกส์. 3(7). 62-65
8. ชุดา  สีโนนม่วง..(2539). Ceramic Design : บทพิสูจน์ผลงานการออกแบบของนักศึกษาไทย..เซรามิกส์. 2(4). 46-49
9. ชุดา  สีโนนม่วง..(2540). Ceramic Design : งานสร้างสรรค์ของนักศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง..เซรามิกส์. 2(6). 48-51
10. ชุดา  สีโนนม่วง..(2540). Ceramic Design : งานการออกแบบสร้างสรรค์ของนิสิต มศว ประสานมิตร..เซรามิกส์. 3(7). 96-99
11. ชุดา  สีโนนม่วง..(2540). Ceramic Design : ศิลปนิพนธ์ ม.ศิลปากร..เซรามิกส์. 3(8). 96-99
12. ชุดา  สีโนนม่วง..(2541). Ceramic Design : 5 ผลงานนักศึกษาไทย สู่ศิลปะเซรามิก..เซรามิกส์. 3(9). 96-99
13. ดนต์  รัตนทัศนีย์. (2526). ขบวนการออกแบบทางศิลปอุตสาหกรรม. (เอกสารอัดสำเนา) กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
14. ดาวรุ่ง  พรสาธิต. (2538). เรื่องจากปก : ชามตราไก่.. เซรามิกส์. 1(2). 9
15. ธีระชัย  สุขสด, ผศ. (2544). การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ:    โอเดียนสโตร์.
16. นพวรรณ  หมั้นทรัพย์. (2539). การออกแบบเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 1. เชียงใหม่: โครงการตำราวิทยาเขตภาคพายัพ.
17. นวลน้อย  บุญวงษ์. (2539). หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
18. ประดิษฐ์  ศรีวิชัยนันท์. (2539).  Special : เซลาดอน  . เซรามิกส์. 2(5). 21-43
19. ประเสริฐ  ศิลรัตนา. (2531). ของที่ระลึก. กรุงเทพฯ:    โอเดียนสโตร์.
20. พรรณี  อุปถัมภ์. The Exotic : เซรามิกอิตาลี  เซรามิกส์. 5(11). 96-99
21. วนิดา  ทองรวย. (2540). Special : เครื่องใช้บนโต๊ะอาหาร. เซรามิกส์. 2(6). 24-43
22. วิรุณ  ตั้งเจริญ. (2537). ออกแบบ2มิติ. (พิมพ์ครั้งที่1). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
23. วิรุณ  ตั้งเจริญ. (2539). การออกแบบ. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
24. เวนิช สุวรรณโมลี. (2540)  Decor Ceramic :  ธรรมชาติ แนวทางในการออกแบบเซรามิก(ที่ใช้กันมานานแล้ว). เซรามิกส์. 2(6). 58-61
25. เวนิช สุวรรณโมลี. (2543). Ceramic Design : การออกแบบและแนวคิดสำหรับอุตสาหกรรมเครื่องปั้นดินเผา  เซรามิกส์. 5(11). 50-54
26. สมาคมเครื่องปั้นดินเผาลำปาง. (2537). Lampang Ceramic 1994-1995.  กรุงเทพฯ: เยียร์บุ๊คพับลิชเชอร์.
27. สมาคมเครื่องปั้นดินเผาลำปาง. (2538). Lampang Ceramic 1995-1996.  ลำปาง: จิตวัฒนาการพิมพ์.
28. สมาคมเครื่องปั้นดินเผาลำปาง. (2540). Lampang Ceramic 1997-1998.  ลำปาง: จิตวัฒนาการพิมพ์.
29. สมาคมเครื่องปั้นดินเผาลำปาง. (2543). Lampang Ceramic 2000.  เชียงใหม่: ทรีโอ แอดเวอร์ไทซิ่ง แอนด์ มีเดีย.
30. สาคร  คันธโชติ. (2528). การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
31. อนันต์ภักดิ์  โชติมงคล. (บรรณาธิการบริหาร). (2538). สเปเชี่ยล : ดิน : เครื่องปั้นดินเผา. เซรามิกส์. 1(1). 22-41
32. อนันต์ภักดิ์  โชติมงคล. (บรรณาธิการบริหาร). (2538). สเปเชี่ยล : เครื่องลายคราม..เซรามิกส์. 1(3). 22-45
33. อนันต์ภักดิ์  โชติมงคล. (บรรณาธิการบริหาร). (2540). Special : ตุ๊กตาเซรามิก..เซรามิกส์. 3(7). 28-51
34. อุตสาหกรรม, กระทรวง. (2529). มอก.564-2528 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ภาชนะเซรามิกใช้กับอาหาร.: ปอร์ซเลน. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.
35. อุตสาหกรรม, กระทรวง. (2529). มอก.601-2529 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ภาชนะเซรามิกใช้กับอาหาร.: เออร์เทนแวร์. พิมพ์ครั้งที่ 1 กรุงเทพฯ: สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.
36. อุตสาหกรรม, กระทรวง. (2539). มอก.32-2524 มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ภาชนะเซรามิกใช้กับอาหาร.: ปริมาณและวิธีวิเคราะห์ตะกั่วและคัดเมียม. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม.
37.CERAM Research Limited (2003) UKAS Testing. Stoke-on-Trent England.
38. Collins Education. (1989). Collins CDT: Technology. Musselburgh, London: Scotprint.
39. French, N. (1998). The Potter’s Directory of Shape and Form. Singapore: Page One.
ไม่มี
www.ceram.co.uk
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์