การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องเงิน

Silver Products Development

1.1 รู้และเข้าใจเกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์
1.2 รู้และเข้าใจรูปแบบผลิตภัณฑ์เครื่องเงินยุคต่างๆ
1.3 บอกความแตกต่างของเครื่องเงินรูปแบบสมัยใหม่และรูปแบบร่วมสมัยได้อย่างถูกต้อง
1.4ออกแบบและวิเคราะห์รูปแบบผลิตภัณฑ์เครื่องเงินรูปแบบต่างๆ
1.5 วิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคในการใช้ผลิตภัณฑ์เครื่องเงิน
1.6วิเคราะห์แนวทางการตลาดผลิตภัณฑ์เครื่องเงิน
1.7เห็นคุณค่าของผลิตภัณฑ์เครื่องเงินซึ่งเป็นงานหัตถกรรมสำคัญของไทย
เพื่อให้เนื้อหาของรายวิชามีความเหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน และเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพสอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนดไว้ นอกจากนี้ยังเป็นพื้นฐานและเตรียมความพร้อมในการศึกษารายวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับรูปแบบของเครื่องเงินที่เป็นงานหัตถกรรมงานสมัยใหม่และงานร่วมสมัยในยุคสมัยต่างๆการวิเคราะห์รูปแบบของผลิตภัณฑ์เครื่องเงินกระบวนการคิดสร้างสรรค์ผลงานผลิตภัณฑ์เครื่องเงินแนวโน้มการออกแบบพฤติกรรมผู้บริโภคการวิเคราะห์ตลาดการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องเงิน
 
- อาจารย์ผู้สอน ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
- อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาอย่างน้อย 1 ชั่วโมง ต่อสัปดาห์
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร ดังนี้
1.1.1 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.2 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองสังคม และสิ่งแวดล้อม
1.2.1 บรรยายและสอดแทรกเรื่องความซื่อสัตย์ สุจริตทั้งทางด้านวิชาการและวิชาชีพทางด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องเงิน
1.2.2 ขานชื่อนักศึกษาเมื่อเข้าชั้นเรียน ตามกำหนดเวลาของเกณฑ์ที่กำหนดไว้
1.3.1 การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาขณะอยู่ในชั้นเรียนและปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.2 การตรวจสอบเวลาเรียน และการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน
2.1.1 สามารถบูรณาการความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องเงินกับความรู้ในศาสตร์ทาง
การวิจัยและการทำโครงการสิ่งทอและเครื่องประดับ
2.2.1บรรยายเนื้อหาวิธีการพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องเงินไปประยุกต์ใช้ในการจัดทำโครงการสิ่งทอและเครื่องประดับ อย่างเหมาะสม
2.3.1 การทดสอบย่อย รายงานย่อย การสอบกลางภาค และ สอบปลายภาค
2.3.2 การซักถามและการอภิปรายของนักศึกษาในเนื้อหาความรู้เกี่ยวกับวิธีการพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องเงินไปประยุกต์ใช้ในการจัดทำโครงการสิ่งทอและเครื่องประดับ
3.1.1 ทักษะในการประยุกต์ใช้ความรู้ด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องเงิน มาประยุกต์ใช้หรือเป็นพื้นฐานความรู้ การสร้างแนวคิด ในการจัดทำโครงการสิ่งทอและเครื่องประดับ อย่างถูกต้อง
3.2.1 สอนแบบบรรยาย โดยใช้รูปภาพประกอบ
3.2.2 สอนแบบสถานการณ์จริงโดนนำนักศึกษาศึกษาดูผลงานออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องเงิน นอกสถานที่เพื่อให้เห็นตัวอย่างที่ชัดเจน
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่เป็นความรู้และการประยุกต์ใช้หลักการพัฒนาผลิตภัณฑ์
3.3.2 ผลงานออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องเงิน ของนักศึกษาตลอดภาคเรียน
4.1.1 สามารถทำงานเป็นกลุ่มเพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องเงินและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.2.1 การบรรยายเนื้อหาเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์เครื่องเงินรูปแบบต่างๆ และร่วมกันอภิปราย
4.2.2 ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มศึกษานอกสถานที่โดยการลงพื้นที่ศึกษารูปแบบผลิตภัณฑ์เครื่องเงินต่างๆ ที่มีอยู่ในท้องตลาด ชุมชน กลุ่มวิสาหกิจ และหาแนวทางการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์เครื่องเงินเหล่านั้นให้เป็นลักษณะงานสมัยใหม่และงานร่วมสมัย
4.3.1 พิจารณาจากผลงานออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องเงินที่อภิปรายและพฤติกรรมการทำงานเป็นกลุ่ม
4.3.2 ประเมินจากรายงานศึกษาดูงานผลิตภัณฑ์เครื่องเงินนอกสถานที่และผลงานออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องเงิน
5.1.1 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหางานพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องเงินอย่างเหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลผลิตภัณฑ์เครื่องเงินด้วยตนเองจากเว็บไซต์ต่างๆ แล้วนำมาเป็นพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบ วิเคราะห์รูปแบบ และวาดแบบด้วยคอมพิวเตอร์
5.2.2 ให้นำเสนอหรือร่วมกันอภิปรายข้อมูลผลิตภัณฑ์เครื่องเงินด้วยสื่อเทคโนโลยีต่างๆ
5.3.1 ผลงานออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องเงิน และการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.2 การมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปรายด้วยสื่อเทคโนโลยีที่ถูกต้องและเหมาะสม
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 43043046 การพัฒนาผลิตภัณฑ์เครื่องเงิน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 - สอบกลางภาค - สอบปลายภาค 9 และ 17 กลางภาคร้อยละ 15 ปลายภาคร้อยละ 15
2 3.1 4.1 5.1 -การปฏิบัติงานออกแบบ และการศึกษาค้นคว้า -การมีส่วนร่วมในกิจกรรมและปฏิสัมพันธ์ระหว่างบุคคล - การวิเคราะห์ การศึกษาค้นคว้า และนำเสนอผลงาน ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 60
3 1.1 - การเข้าชั้นเรียน / ความตั้งใจ -ความรับผิดชอบ -การแต่งกาย ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
ชูชัย  สมิทธิไกร, 2556. “พฤติกรรมผู้บริโภค”. พิมพ์ครั้งที่ 1.กรุงเทพฯ :วี พริ้นท์.  วัสสนัย  วรรธนัจฉริยา, 2555. “การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์”. เชียงใหม่ : มปท. “มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน (มผช.)” (ออนไลน์), สืบค้นจาก www.agriman.doae.go.th/home/     Research/Herb57/5.pdf (วันที่สืบค้น 10มิถุนายน 2558). สถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม กระทรวงอุตสาหกรรม,(2558). “โครงการสร้างองค์ความรู้และบุคลากรด้านการออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม”. กรุงเทพฯ : เอกสารโรเนียว. Claude Blair 1982.“The History of Silver”.USA :Ballantine Book.
 
2.1 รูปแบบผลิตภัณฑ์เครื่องเงินต่างๆ ในร้านค้า ชุมชน กลุ่มวิสาหกิจ  หนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์     2.2 รูปแบบผลิตภัณฑ์เครื่องเงินในหนังสือต่างประเทศ  
3.1 แผ่นพับ โปสเตอร์     3.2 การประชุม พิพิธภัณฑ์ นิทรรศการต่างๆ
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาดังนี้คือ      1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน     1.2 แบบประเมินผลผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหนดของมหาวิทยาลัย  
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้ 2.1   การสังเกตการณ์พฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา 2.2   การอภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียน 2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 2.4   การตรวจผลงานของนักศึกษา ที่เป็นผลการปฏิบัติงานออกแบบผลิตภัณฑ์เครื่องเงิน  
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1ทบทวนเนื้อหา และวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเกณฑ์กำหนด 3.2 หาแนวทาง และวิธีการสอนที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน  
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ซึ่งมีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1  การทวนสอบการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย 4.2  การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน 4.3 การประเมินผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานของนักศึกษาและผลงานตามที่มอบหมาย  
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้ 5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุกปี ตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2   การประชุมกรรมการประจำหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา