การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม

Cross Cultural Communication

1.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษาและวัฒนธรรม
1.2 เข้าใจความหลากหลายในวัฒนธรรมของประเทศต่าง ๆ
1.3 สามารถใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับวัฒนธรรมสากล
1.4 ตระหนักถึงความสำคัญของภาษาและวัฒนธรรมในการสื่อสารสากล
เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้เกี่ยวกับความแตกต่างในการใช้ภาษาอังกฤษ ในลักษณะสังคม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีของประเทศต่าง ๆ โดยเน้นการนำไปใช้ในการ สื่อสารอย่างเหมาะสมในแต่ละสถานการณ์
การเรียนรู้ความแตกต่างในการใช้ภาษาอังกฤษในสังคม วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีของประเทศ ต่าง ๆ โดยเน้นการนำไปใช้ในการ สื่อสารอย่างเหมาะสมในแต่ละสถานการณ์
อาจารย์ประจำรายวิชาให้คำปรึกษาในชั่วโมงและนอกชั่วโมงเรียนตามแต่นักศึกษาจะนัดหมายวันเวลา
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ หรือ Line
มีความรู้ความเข้าใจใน หลักจริยธรรม คุณธรรม และ จรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจ มี จิตสำนึกสาธารณะ ตระหนักใน คุณค่าของคุณธรรมจริยธรรม เสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื้อ สัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น มีความพอเพียง มีวินัย อดทน มีมารยาทและรับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึก รับผิดชอบต่อส่วนรวมและสิ่งแวดล้อม มีความเคารพต่อกฎระเบียบขององค์กรและสังคม 1.4 มีภาวะความเป็นผู้นำผู้ตาม สามารถทำงาน
เป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับ
ความสำคัญ 1.5 มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพเคารพสิทธิและรับ
ฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่า
และศักดิ์ศรีจองความเป็นมนุษย์ 1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้
คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กรและสังคม
Lecture
Cooperative
Team Learning
1. การเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและ ตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2 . การประเมินจากแบบทดสอบ
3. การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้า ชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลาที่ได้รับมอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม
4. การสังเกตพฤติกรรมในการทำงาน เป็นกลุ่ม
2.1 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ
ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของ
สาขาวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ใน
สาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่
เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้
ติดตาม ความก้าวหน้าทวงวิชาการได้อย่างต่อ
เนื่องเกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ติดตาม ความก้าวหน้าทวงวิชาการได้อย่าง
ต่อเนื่อง
2.2 มีความรู้ความเข้าใจในสาระสำคัญของ
ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ใน
การวิเคราะห์ปัญหาเข้าใจและอธิบายความ
ต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษารวมทั้ง
ประยุกต์ความรู้ทักษะและสามารถเลือกใช้
เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและ
ดำรงชีวิตประจำวัน
2.2 มีความรู้ความเข้าใจในสาระสำคัญของ
ศาสตร์ที่เกี่ยวข้องประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ใน
การวิเคราะห์ปัญหาเข้าใจและอธิบายความ
ต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษารวมทั้ง
ประยุกต์ความรู้ทักษะและสามารถเลือกใช้
เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและ
ดำรงชีวิตประจำวัน
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับ
กระบวนการบริหารธุรกิจในด้านการวางแผน
การจัดโครงสร้างองค์กร การปฏิบัติการ
การควบคุมและผลการดำเนินงาน รวมทั้งการ
ปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์
2.4 มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการ
และวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจรวมทั้งมีความเข้าใจ
ในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่าง
เท่าทัน
2.5 สามารถวิเคราะห์ออกแบบ ติดตั้ง
ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบองค์ประกอบ
ต่างๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ให้ได้ตรงตาม
ข้อกำหนด
2.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการ
และวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์รวมทั้งการนำไป
ประยุกต์
2.7 รู้ เข้าใจ และสนใจพัฒนาความรู้ ความ
ชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง
2.8 มีความรู้ในแนวกว้างขวาง
ของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้ เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลงและ เข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยี ใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.9 มีประสบการณ์ในการ พัฒนาและ/หรือการประยุกต์ ซอฟแวร์ที่ใช้ในงานได้จริง
1.Lecture 2.Flipped Classroom
 
3. Cooperative Team Learning
4. Jigsaw Reading
5.Brainstorming,
6. Role play
 
 
 
1.    การสอบย่อย การสอบกลางภาคและ การปลายภาค
2. รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการนำความรู้ไป
ตอบแบบทดสอบ
 
3. ผลการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
 
 
4. ผลงานจากการค้นคว้าและการ
นำเสนอ
 
3.1 สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมิน สารสนเทศจากหลายแห่ง เพื่อใช้ ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทาง ธุรกิจ และการตัดสินใจอย่าง เหมาะสมด้วยตนเอง
 
3.2 สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือก และ ผลกระทบจากทางเลือกอย่างรอบ ด้าน มีความสามารถในการ ตัดสินใจเลือกทางเลือกที่ สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้ เกิดการได้เปรียบทางการแข่งขัน ทางธุรกิจ
 
3.3 คิดอย่างมีวิจารณญาณ และเป็นระบบ สร้างสรรค์และมี เหตุผล สามารถบูรณาการความรู้ จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษาและ ประสบการณ์ เพื่อใช้ในการ แก้ปัญหาทางธุรกิจและ
3.4 สามารถรวบรวม ศึกษาวิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
 


3.5 สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม
  Lecture     Flipped classroom    
Cooperative Team Learning
 
 
Jigsaw Reading
 
 
 
Brainstorming
Role play
 1. ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและ การปฏิบัติของนักศึกษา  เช่น ในสถานประกอบการ 2. การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา และสื่อสารในบนริบทต่างๆ 3. การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาท สมมุติหรือสถานการณ์จำลอง  
4.1 มีภาวะความเป็นผู้นำสามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพ ความคิดเห็น ของผู้อื่นรวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้ 4.2 มีความสามารถในการแสดงความริเริ่ม แสดงความเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ๆได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีม สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 4.3 มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่ และความรับผิดชอบ พร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อร่วมงานในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ และในบทบาทของผู้รวมทีมทำงาน 4.4  มีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 4.5 สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่าง ประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิ ภาพ 4.6 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบในงานกลุ่ม 4.7  สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้ง แสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตัวเองและของกลุ่ม
1.  Cooperative Team Learning
2. Role Play
1. การทดสอบย่อย กลางภาค และปลายภาค 2. พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา 3. การนำเสนอ
 
5.1 สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ได้การวิเคราะห์และ ตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน 5.2 สามารถสื่อสารเพื่ออธิบายและสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิค วิธีการ เครื่องมือสื่อสาร และเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงาน และการนำเสนอด้วย วาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ 5.3 สามารถสื่อสารภาษาไทยและต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.4 มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 5.5 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติ ประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ 5.6 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสมและสามารถนำเทคโนโลยีไปใช้สนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
1. Cooperative Team Learning 2. Jigsaw Reading 3. Brainstorming, 4. Role play
 
1. การทดสอบย่อย กลางภาค และปลายภาค 2. ผลงานของนักศึกษาจากงานที่ได้รับมอบหมาย 3. พฤติกรรมและความสามารถในการใช้ภาษาของนักศึกษาเพื่อสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ
 
6.1 สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม 6.2 สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทาง ในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาแก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัยตลอดจน พัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง  6.3 สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงานสังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม และมีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต 6.4 สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบแก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ตีความ อย่างมีเหตุผล 6.5 สามารถปฏิบัติงานโดยยึดถือแนวทางความคิด วิเคราะห์บนพื้นฐานของความเป็นไทย
 
1. Cooperative Team  Learning 2. Jigsaw Reading 3. Brainstorming, 4. Role play
 
1. การทดสอบย่อย กลางภาค และปลายภาค 2. ผลงานของนักศึกษาจากงานที่ได้รับมอบหมาย 3. พฤติกรรมและความสามารถในการใช้ภาษาของนักศึกษาเพื่อสื่อสารใน
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา . มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 2. มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรี ของ ความเป็นมนุษย์ สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม 1.มีความรู้ความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถ เลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและดำรงชีวิตประจำวัน .คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ ศึกษาและประสบการณ์ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่มี 1. สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน สังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม และมีความพอเพียงใน การดำเนินชีวิต 2. สามารถปฏิบัติงานโดยยึดถือแนวทางความคิด วิเคราะห์ บนพื้นฐานของความเป็นไทย
1 BOACC102 การสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.2, 4.5, 6.3, 6.5 ทดสอบกลางภาค ทดสอบปลายภาค 9 18 25% 25%
2 , 6.3, 6.5, 4.5 พฤติกรรมการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานพฤติกรรมการใช้ภาษาในสถานการณ์ต่างๆ การร่วมกิจกรรมเดี่ยว/กลุ่มในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10% 10%
3 1.6, 4.5, 1.5 การฝึกปฏิบัติในชั้นเรียน การนำเสนองานการฝึกปฏิบัติจากสภาพแวดล้อมจริงแบบฝึกหัดเพิ่มเติมนอกชั้นเรียนการทำงานมอบหมายนอกชั้นเรียน รายงานสรุปองค์ความรู้ได้ได้จากการเข้าร่วม กิจกรรมนำไปตอบแบบทดสอบผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ ตลอดภาคการศึกษา 30%
Kristin L. Johannsen, 2018. English for the humanities. Cengage Learning. USA
- Student Worksheet ที่พัฒนาโดยอาจารย์ผู้สอน
Bushell, B. and Dyer, D. 2003. Global Outlook 1. NY. McGraw-Hill / Conte

2.2 Dale, P. and Wolf, J. C. 2006. Speech Communication made Simple. NY. Addison Wesley Longman.

Green, C. 2005. Creative Reading Book 3. Oxford. Macmillan Education. Gajaseni, Chansongklod. 2011. Learning English with Thai Culture. Bankgok: Chulalongkorn University. Johannsen, K. L. 2006. English for the Humanities. Massachusetts. Thomson ELT. Levine, D. R. and Adelman, M. B. 1982. Beyond Language: Intercultural Communication for English as a Second Language. Englewood Cliffs. Prentice-Hall Regents. Lee, L. and Gundersen, E. 2001. Select Readings – Intermediate. Oxford. Oxford University Press. Novinger, T. 2001. Intercultural Communication: A Practical Guide. Austin. University of Texas. Pavli C. 2006. Hot Topic 1,2,3. Canada. Thomson Heinle. Viney, P. and Viney, K. 1996. Handshake. Oxford. Oxford University Press. Wang, D. and Li, H. 2007. “Nonverbal Language in Cross-cultural Communication”. Sino- US English Teaching. Vol. 4, No. 10 (October 2007). Pp. 66-70
เว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาษาอังกฤษ วัฒนธรรมของประเทศต่าง ๆ และการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม
การประเมินผลของรายวิชาโดยนักศึกษากระทำโดย
- การประเมินผลการสอนโดยใช้แบบประเมินของฝ่ายวิชาการ กองการศึกษา
- ให้นักศึกษาเสนอแนะเนื้อหาในรายวิชาและกิจกรรมการเรียนการสอนเพื่อนำไปปรับปรุง
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน มีกลยุทธ์ดังนี้
- สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาเมื่อสิ้นสุดการเรียนแต่ละหน่วยเรียน
- สังเกตจากพฤติกรรมของนักศึกษาในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชั้นเรียน
- ประเมินจากคะแนนแบบฝึกหัดแต่ละบทเรียนและความเข้าใจในเนื้อหา
- ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาคของนักศึกษา
3. การปรับปรุงการสอน
การปรับปรุงการสอนในรายวิชา กระทำโดย
- ปรับปรุงเนื้อหาให้มีความทันสมัยและมีระดับภาษาที่เหมาะสมกับกับระดับของผู้เรียน
- สำรวจรูปแบบการเรียนรู้ของนักศึกษาก่อนเรียน และปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้เหมาะสม
- สรุปผลการทำกิจกรรมในชั้นเรียนแต่ละครั้ง เพื่อนำมาปรับปรุงครั้งต่อ ๆ ไป
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างการเรียนการสอนมีการตรวจแบบฝึกหัดและงานกลุ่ม โดยตรวจสอบคะแนนของนักศึกษาแต่ละ คนว่ามีการพัฒนาก้าวหน้า หรือไม่มีการพัฒนา จากนั้นแก้ไขโดยการอธิบายทำความเข้าใจกับนักศึกษาทั้งชั้น หรือ เป็นรายบุคคล พร้อมทั้งแจ้งผลคะแนนจากแบบฝึกหัดและคะแนนสอบเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง
- ทบทวนเนื้อหาในบทเรียน โดยเลือกระดับของภาษาให้เหมาะสมกับระดับของผู้เรียน ตามที่ได้ทดสอบไว้ ตั้งแต่สัปดาห์แรก
- มีการปรับปรุงเนื้อหาทุกปี ตามสภาวการณ์ใหม่ ๆ และความน่าสนใจ
- ปรับปรุงรูปแบบกิจกรรมให้มีความหลากหลาย และสนองตอบต่อรูปแบบการเรียนรู้ที่หลากหลายของกลุ่ม ผู้เรียน
ตามที่ได้สำรวจไว้ตั้งแต่สัปดาห์แรก
- ปรับปรุงรายวิชาตามข้อเสนอแนะของนักศึกษา และของผู้ทรงคุณวุฒิที่ตรวจสอบรายวิชาในการประเมิน คุณภาพการศึกษาประจำปี