วัสดุผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม

Industrial Product Materials

1.1 มีความรู้เกี่ยวกับวัสดุและอุปกรณ์ในผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
1.2 เข้าใจถึงคุณสมบัติและประเภทของวัสดุในผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
1.3 มีทักษะในการเลือกใช้วัสดุธรรมชาติ วัสดุสังเคราะห์ ในผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมโดยคำนึงถึงความเหมาะสมและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
1.4 มีทักษะในการประยุกต์วัสดุให้เหมาะสมกับวิธีการผลิตในผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับวัสดุและการประยุกต์ใช้ในงานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาที่เกี่ยวข้องและการประกอบวิชาชีพในอนาคต
          ศึกษาวัสดุและอุปกรณ์ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม คุณสมบัติ ประเภท และการเลือกใช้วัสดุธรรมชาติ วัสดุสังเคราะห์ รวมถึงวิธีการผลิต โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
        1.1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัยและมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
        1.1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
      1.2.1 บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรมและจริยธรรม  
      1.2.2 การให้ทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
       1.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
      1.3.2 การสังเกตพฤติกรรม
      1.3.2 ผลงานจากการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม
            2.1.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
            2.1.4  มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา
    บรรยายโดยเน้นหลักการทางทฤษฎีและการนำไปประยุกต์ใช้งานการแก้ปัญหา
      2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
     2.3.2 ประเมินจากการปฏิบัติงาน
        3.1.1 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
       3.2.1 สอนบรรยายพร้อมการทำกิจกรรมในห้องเรียน โดยสอดแทรกให้นักศึกษารู้จักกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ
       3.2.2 มอบใบงานกิจกรรมให้นักศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม โดยให้มีการรวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ
       3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการแก้ไขปัญหา
       3.3.2 วัดผลจากการทำใบงานกิจกรรมที่ได้รับมอบหมายในแต่ละหัวข้อ
       3.3.3 วัดผลจากการมอบหมายโครงงานกลุ่ม
       3.3.4 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
       4.1.3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมาและเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
       4.2.1 สอนบรรยายพร้อมการทำกิจกรรมในห้องเรียน โดยสอดแทรกเรื่องการมีมารยาททางสังคม การยอมรับฟังความคิดเห็นจาก
       4.2.2 มอบหมายการทำงานเป็นกลุ่ม ให้มีการหมุนเวียนกันในการทำหน้าที่ต่างๆ
        4.3.1 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
        4.3.2 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง   
       5.1.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรมและนำเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพ
       5.1.3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
      5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
      5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
       5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
       5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัยและมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 1.3 มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ 2.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 2.2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพ 2.3 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 2.4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา 3.1 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น 3.2 สามรถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 3.3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ 3.4 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน 4.1 มีภาวะผู้นำเข้าใจหน้าที่บทบาทของตัวเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 4.2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเองและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อ่างมีประสิทธิภาพ 4.3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมาและเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง 5.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรมและนำเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม 6.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ 6.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 6.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BAAID105 วัสดุผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัยและมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม ประเมินจาก การรับผิดชอบในการทำงาน การทำงานส่งตรงเวลา การสอบ จากการไม่คดโกง ไม่ทุจริต ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 10
2 2.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 24 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา สอบกลางภาคเรียนและสอบปลายภาคเรียน สัปดาห์ที่ 9 และ สัปดาห์ที่ 17 ร้อยละ 30
3 1.2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 3.1 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น 4.3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมาและเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง การค้นคว้าหาข้อมูล การทำใบงานกิจกรรม การถามตอบและแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน และการทำงานกลุ่ม ตลอดภาคการศึกษา ร้อยละ 40
4 5.1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรมและนำเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม ให้คะแนนประเมินจากการการนำเสนอผลงาน ตามกิจกรรมที่กำหนด จกทักษะการนำเสนอ การใช้ภาษา การสื่อสาร การใช้เทคโนโลยีในการนำเสนอ สัปดาห์ที่ 15 และ 16 ร้อยละ 20
1. รศ. เสาวรจน์ ช่วยจุลจิตร์. วัสดุศาสตร์มูลฐาน: Introduction To Materials Science. กรุงเทพมหานคร :
                          สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
2. R. Dogra. Advances in Material Science. 6th ed. London, 2015.
3. J. Wood. The top ten advances in materials science. Materialstoday, Vol. 11: 1–2, 2008, P. 40-45.
4. ปรีดา พิมพ์ขาวขำ. เซรามิกส์. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : สำนักโอเดียนสโตร์ ,2539
5. A. Michel, P. Panagiotis, S. Chafic-Touma. Technologies and Materials for Renewable Energy, Environment and Sustainability. Energy Procedia, Vol. 119, 2017, P. 1-2.
6. ภาสุรี ฮามวงศ์. งานประดิษฐ์จากเศษวัสดุธรรมชาติ. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์วาดศิลป์, 2552.
7. G. Tsoumis. Science and Technology of Wood Structure, Properties and Utilization. 3rd ed. 2009 Gulf Professional Publishing.
8. W.D. Kingery, H.K. Bowen and D.R. Uhlmann. Introduction to ceramics. 2nd ed, New York : John Wiley, 1976.
-
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำรายงาน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการทบทวนวิธีการสอนให้เหมาะสมกับนักศึกษาจากหัวหน้าหลักสูตร อาจารย์ภายในหลักสูตร
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน การประเมินผลสัมฤธิ์ของนักศึกษา โดยปรับปรุงตามข้อเสนอแนะและผลการประเมินทุกปีการศึกษา เพื่อให้เกิดคุณภาพในการสอนและประสิมธิผลมมากขึ้น