ศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผา 2

Ceramic Art 2

เข้าใจเกี่ยวกับ แนวโน้มและความเคลื่อนไหวของวงการศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผาทั้งในและต่างประเทศ การพัฒนาแนวคิด รูปแบบและ เทคนิคการสร้างสรรค์ศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผา ในลักษณะเฉพาะของตนเอง การพัฒนาวัตถุดิบ กระบวนการสร้างชิ้นงาน การพัฒนาเทคนิคการตกแต่งชิ้นงานและการใช้วัสดุร่วม การเผาชิ้นงาน และการนำเสนองาน
เพื่อให้นักศึกษามีเข้าใจ การเคลื่อนไหวของงานศิลปกรรมไทยและต่างประเทศ
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับแนวโน้มและความเคลื่อนไหวของวงการศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผาทั้งในและต่างประเทศ การพัฒนาแนวคิด รูปแบบและ เทคนิคการสร้างสรรค์ศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผา ในลักษณะเฉพาะของตนเอง การพัฒนาวัตถุดิบ กระบวนการสร้างชิ้นงาน การพัฒนาเทคนิคการตกแต่งชิ้นงานและการใช้วัสดุร่วม การเผาชิ้นงาน และการนำเสนองาน
-  อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
- อาจารย์ประจำรายวิชาเปิดโอกาสและจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความ
  ต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์เฉพาะรายที่ต้องการ
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.1.3 มีวิจัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรมและจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับงานศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผา และประยุกต์ใช้กับเทคโนโลยีที่สังคมต้องการ
สังเกตพฤติกรรมการแสดงออก การเข้าชั้นเรียน
2.1.1 มีความรู้ ความเข้าใจทั้งทางด้านทฤษฏีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2.2 มารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา
2.2.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
บรรยาย  ซักถาม  และมอบหมายให้ศึกษา สืบค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมารวบรวมสรุปส่งมอบงานภาคปฏิบัติงาน
2.3.1   ทดสอบย่อย กลางภาค ปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นภาคปฏิบัติ
2.3.2   ประเมินจากงานที่มอบหมายสืบค้นหาข้อมูล และงานภาคปฏิบัติงาน
 2.3.3   ประเมินจาก จิตพิสัย คุณธรรม จริยธรรม
3.1.1 มีมักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
3.2.1  บรรยายและการมอบหมายให้นักศึกษาปฏิบัติงาน
3.2.2  ยกตัวอย่างชิ้นงานหรือสาธิตชิ้นงานเกี่ยวกับงานหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผา
3.2.3  การส่งงานภาคปฏิบัติ
3.3.1 สอบย่อย กลางภาค และปลายภาค 
3.3.2 ประเมินผลจากงานที่มอบหมายและรายงานสรุป
3.3.3 ประเมินผลจากงานภาคปฏิบัติ
 
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1 มอบหมายงานกลุ่มหรือรายบุคคลให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ทาง 
      อินเตอร์เน็ตและอ้างอิงข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
4.2.2 มอบหมายงานภาคปฏิบัติเป็นรายบุคคล
4.2.3 การนำเสนอผลงานพร้อมเอกสารรายงาน
4.3.1 สอบย่อย กลางภาค และปลายภาค 
4.3.2 ประเมินผลจากงานสืบค้นและรายงาน
4.3.3 ประเมินผลจากงานภาคปฏิบัติ
4.3.4 ประเมินผลจาก จิตพิสัย คุณธรรม จริยธรรม
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ และทำรายงานโดยเน้นการ
        นำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 44021405 ศิลปกรรมเครื่องปั้นดินเผา 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สอบกลางภาค สอบปลายภาค วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงานภาคปฏิบัติ การทำงานรายบุคคลและผลงานภาคปฏิบัติ และความรับผิดชอบในการส่งงานตามที่มอบหมาย จิตพิสัย สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 8 สอบปลายภาค สัปดาห์ัที่ 17 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน ตลอดภาคเรียน การทำงานกลุ่มและผลงานภาคปฏิบัติ การทำงานรายบุคคลและผลงานภาคปฏิบัติ และความรับผิดชอบในการส่งงานตามที่มอบหมาย จิตพิสัย ตลอดภาคเรียน สอบกลางภาค 10 % สอบปลายภาค 10% วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน 70% การทำงานกลุ่มและผลงานภาคปฏิบัติ การทำงานรายบุคคลและผลงานภาคปฏิบัติ และความรับผิดชอบในการส่งงานตามที่มอบหมาย จิตพิสัย
1.โกมล  รักษ์วงศ์.(มปป.). วัตถุดิบที่ใช้ในเครื่องปั้นดินเผาและเนื้อดินปั้น. นนทบุรี : โรงเรียนมารดานุเคราะห์
2.ประเสริฐ  ศีลรัตนา (2538). การออกแบบลวดลาย. กรุงเทพฯ :โอเดียนสโตร์
3.ไพจิตร  อิ่งศิริวัฒน์. (2546). สีเซรามิก. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
4.วิรุณ  ตั้งเจริญ.(2537). ออกแบบ 2 มิติ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
5.เวนิช สุวรรณโมลี. (มมป.) เทคนิคตกแต่งเซรามิกซ์. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 365201 เทคนิคการตกแต่ง มหาวิทยาลัยศิลปากร.
6.ศุภกา  ปาลเปรม.(2537) .การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 7. “มุมนักทำเครื่องปั้นดินเผาสมัครเล่น” กรุงเทพ : อัมรินทร์พริ้นติ้ง. หน้า 124-133.
7. เศรษฐมันตร์  กาญจนกุล.(2543) .ลวดลายบาหลี. กรุงเทพฯ : เศรษฐศิลป.
6.อารี  พันธ์มณี (2540), คิดอย่างสร้างสรรค์ , ต้นอ้อ แกรมมี จำกัด : กรุงเทพฯ“.”เทคนิคการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ : Thinking for success
7. Bellaire, Marc (1975). Brush Decoration for.(6th )  Ohio : Professional Publications, Inc.
8. Bismarck, Beatrice von. (1993). Impressionist art vol.II. Germany : Ingo F. Walther
9. Brick, Tony.(1996). The Complete Potter’s Companion. Hongkong :  Conran Octopus.
10.Chappell, James. (1991). The Potter’s Complete Book of Clay and Glaze. (rev. edit). Newyork: Watson-Guptill Publications
11. Emmauel, Cooper. (2000). Ten Thousand years of Pottery (rev.) London : British Museum.
12. Gombrick, E.H.(1984). The Sense of Order. (2nd. ed.) Great Britain : Phaidon
13. Graham, Flight. (1991).Introduction To Ceramics. New Jersey : Prentice Hall.
14. Griffiths, Antony. (1980). Prints and Printmaking. London : British Museum.
15. Hopper, Robin. (1984). The Ceramic Spectrum : A Simplified Approach to Glaze & Color Development. (rev). Pennsylvania : Badnor.
16. John, Gibson. (1997). Pottery Decoration. Hongkong : G & B Arts International, Ltd.
ไม่มี
www.vivaflofart.com
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผล
การ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์