สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา

Environment and Development

1. เข้าใจความสัมพันธ์ของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
2. เข้าใจคุณภาพชีวิตและคุณภาพสิ่งแวดล้อม
3. เข้าใจปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน
4. เข้าใจความสัมพันธ์ของจริยธรรมกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
5.เข้าใจนวัตกรรมเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อการรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
6.. มีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์
เพื่อพัฒนาหลักสูตร หมวดศึกษาทั่วไป ให้ทันสมัยและใช้ในการเรียนการสอนระดับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
โดยมีจุดเน้น ดังนี้
1. ปลูกฝังการคิดอย่างมีระบบและมีเหตุผล
2. ส่งเสริมให้มีความรู้ในวิชาชีพและเป็นพื้นฐานในการศึกษาระดับสูง
3. สามารถนำความรู้ไปใช้ในวิชาชีพ
4. สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิตและคุณภาพสิ่งแวดล้อม ปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันจริยธรรมกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
นวัตกรรมเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อการรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
(1) มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
(2) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
(3) มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อ
(4) เคารพสิทธิในคุณค่าศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
(1) บรรยายพร้อมยกตัวอย่าง กรณีศึกษาเกี่ยวกับประเด็นจริยาธรรมกับสิ่งแวดล้อม อาทิการพัฒนาที่ไม่คำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและสังคม
(2) อภิปรายกลุ่ม
(3) ค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือสถานการณ์ หรือ โครงการพัฒนาที่เกี่ยวข้อง
(1) พฤติกรรมการเข้าเรียนและส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามชอบเขตที่ให้และตรงต่อเวลา
(2) มีการอ้างอิงเอกสารที่นำมานำเสนอ อย่างถูกต้องและเหมาะสมตามหลักวิชาการ
(3) ผลการวิเคราะห์กรณีศึกษาต่างๆ
(4) ผลการนำเสนองานที่ได้รับมอบหมาย
(1) ประเภทและความสำคัญของทรัพยากร คุณสมบัติ ขอบเขตและความสำคัญของสิ่งแวดล้อม ความสำคัญ และองค์ประกอบของคุณภาพชีวิต แนวทางพัฒนาและปัญหาคุณภาพชีวิต เกณฑ์การประเมินคุณภาพชีวิต คุณภาพสิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพชีวิตและคุณภาพสิ่งแวดล้อม ปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันจริยธรรมกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน นวัตกรรมเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อการรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
(1) บรรยาย อภิปราย ทำงานกลุ่ม นำเสนอและวิเคราะห์กรณีตัวอย่างที่ผู้เรียนสนใจ กิจกรรมเสริมหลักสูตร 
(1) ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
(2) ผลการนำเสนอ วิเคราะห์กรณีตัวอย่าง
(3) ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร 
(1) พัฒนาความสามารถในการวิเคราะห์สถานการณ์และผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากโครงการ และวิเคราะห์โครงการพัฒนาต่างๆ ความสามารถในแก้ปัญหาทางสังคม และสิ่งแวดล้อมโดยใช้หลักการ ทฤษฎี จากการเรียนรู้ไปใช้ได้อย่างเหมาะสม สร้างจิตสำนึกรับผิดชอบในการแก้ปัญหาและใฝ่หาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ
(1) มอบหมาย ทำงานกลุ่ม นำเสนอ อภิปรายและวิเคราะห์กรณีตัวอย่าง ที่ผู้เรียนสนใจจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร 
(1) ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค
(2) ผลการนำเสนอ วิเคราะห์กรณีตัวอย่าง
(3) ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
(1) ทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียน
(2) ความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
(3) การเรียนรู้ด้วยตนเองและความรับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
(1) บรรยาย มอบหมาย ทำงานกลุ่ม นำเสนอ อภิปรายและวิเคราะห์กรณีตัวอย่าง ที่ผู้เรียนสนใจ จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร 
(1) ผลการนำเสนอ วิเคราะห์กรณีตัวอย่าง ผลการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
(1) ทักษะในการใช้เครื่องมือในการค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล
(2) ทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล และการเขียน โดยการนำเสนอในชั้นเรียน (3) ความรู้ในการใช้เครื่องมือในการนำเสนอ
(4) การใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร
(1) มอบหมาย ทำงานกลุ่ม นำเสนอ อภิปรายและวิเคราะห์กรณีตัวอย่าง ที่ผู้เรียนสนใจ
(1) ผลการนำเสนอ วิเคราะห์กรณีตัวอย่าง
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 GEBSC106 สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3, 3.3, 5.3 การนำเสนอหัวข้อและการสอบย่อย 5, 8, 11, 13, 15 15%
2 2.3, 3.3, 5.3 การสอบกลางภาค 9 30%
3 2.3, 3.3, 5.3 การสอบปลายภาค 17 30%
4 2.3, 3.3, 4.3, 5.3 งานที่มอบหมาย ตลอดภาคเรียน 15%
5 1.3, 4.3 คะแนนเจตคติ การเข้าชั้นเรียน ความรับผิดชอบในรายวิชา ตลอดภาคเรียน 10%
1. เกษม จันทร์แก้วและคณะ , 2544 วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม. กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
2. ชัชพล ทรงสุนทรวงศ์ , 2546 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม.กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
3. นฤมล กูลศิริศรตระกูล, 2552 เอกสารคำสอนรายวิชาสิ่งแวดล้อมและการจัดการทรัพยากร ม.ป.ท.
1. นิวัติ เรืองพานิช , 2533 การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม คู่มือสำหรับการสอนและการฝ๊กอบรม. กรุงเทพฯ อักษรสยามการพิมพ์
2. สุโขทัยธรรมาธิราช,มหาวิทยาลัย,สาขาวิชานิติศาสตร์ 2542 เอกสารการสอนชุดวิชากฎหมายสิ่งแวดล้อมหน่วยที่ 1-7 พิมพ์ครั้งที่ 11 กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
1. นิวัติ เรืองพานิช , 2533 การอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม คู่มือสำหรับการสอนและการฝ๊กอบรม. กรุงเทพฯ อักษรสยามการพิมพ์
2. สุโขทัยธรรมาธิราช,มหาวิทยาลัย,สาขาวิชานิติศาสตร์ 2542 เอกสารการสอนชุดวิชากฎหมายสิ่งแวดล้อมหน่วยที่ 1-7 พิมพ์ครั้งที่ 11 กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
- การประเมินผลการสอนของอาจารย์
- การประเมินตามแบบประเมินความพึงพอใจ
- การประเมินผลจากการตรวจใบงาน
- การประเมินผลจากการนำเสนอผลงาน
- การสังเกตพฤติกรรม และการมีส่วนร่วม
- การเข้าเรียน
- การเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร เช่นโครงการจัดการหรืออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 
- การสอบกลางภาคและปลายภาค
- การปรับปรุงแบบประเมินผลจากการตรวจใบงาน
- การปรับปรุงแบบประเมินผลการนำเสนอผลงาน
- การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร โครงการจัดการหรืออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 
- การวิจัยในชั้นเรียน
- การประชุมเชิงปฏิบัติการการจัดการความรู้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
- ทวนสอบจากคะแนนสอบ
- ทวนสอบจากผลการวิเคราะห์และนำเสนอกรณีตัวอย่าง
- ทวนสอบจากการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร เช่น โครงการจัดการหรืออนุรักษ์
- ปรับปรุงคำอธิบายรายวิชา เน้นการศึกษาสถานการณ์สิ่งแวดล้อมโลกมากยิ่งขึ้น
- จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร การจัดให้มีการสัมมนาทางวิชาการ โครงการจัดการหรืออนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ หรือการศึกษาดูงาน
ปรับปรุงกิจกรรมโครงการจัดการหรืออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ