วิศวกรรมส่องสว่าง

Illumination Engineering

1.1 เข้าใจธรรมชาติของแสง และการมองเห็น
1.2 เข้าใจหลักการทำงานของหลอดไฟฟ้าและดวงโคม
1.3 เข้าใจวิธีการออกแบบแสงสว่างภายในอาคาร
1.4 เข้าใจวิธีการออกแบบแสงสว่างภายนอกอาคาร
1.5 เข้าใจการอนุรักษ์พลังงาน
เพื่อให้นักศึกษาเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับ เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไป  รวมทั้งแนวคิดในการออกแบบแสงสว่าง ที่มีการพัฒนาปรับปรุงให้ทันสมัยต่อเทคโนโลยีในระบบต่างๆ
ศึกษาหน่วยและคำศัพท์เฉพาะของแสง  ตาและการมองเห็น สีและการจำแนกสีหลอดไฟฟ้า ดวงโคม แสงสว่างภายในอาคารและสภาวะแวดล้อม  เทคนิคการออกแบบแสงสว่างภายในอาคาร  แสงสว่างและการอนุรักษ์พลังงาน  การออกแบบแสงสว่างภายนอกอาคาร
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 บทที่ 2 บทที่ 1-3 บทที่ 3 บทที่ 4-5 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 (หลอดไฟฟ้า) สอบกลางภาค (บทที่3 วิธีจุดต่อจุด) ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 (วิธีลูเมน) สอบปลายภาค 5 8 11 16 8 % 25 % 10 % 27 %
2 บทที่ 2 บทที่ 5-7 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 ทุกบท การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ลำดับ ชื่อหนังสือ ผู้แต่ง 1 เทคนิคการออกแบบระบบแสงสว่าง ชาญศักดิ์  อภัยนิพัฒน์ 2 เทคนิคการส่องสว่าง      ศุลี        บรรจงศรี 3
4
5
6
7
8 การออกแบบระบบแสงสว่าง
พื้นฐานวิศวกรรมส่องสว่าง
คู่มือวิศวกรรมไฟฟ้า
เอกสารแสงสว่างและการอนุรักษ์พลังงาน
Lighting Manual 3th
Illumination Engineering From Edison’s Lamp to Laser ธนุบูรณ์   ศศิภานุเดช
ไชยะ      แช่มช้อย
บ.เอ็มแอนด์อี    
กรมส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน
Phillips
Joseph B. Murdoch      
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ