การออกแบบวงจรดิจิทัลลอจิก

Digital Logic and Circuits Design

จุดมุ่งหมายของรายวิชา 1.เข้าใจหลักการของระบบตัวเลขและรหัสในระบบดิจิตอล
2.เข้าใจหลักการทำงานของลอจิกเกท
3.สามารถลดทอนฟังก์ชั่นลอจิกได้
4.เข้าใจหลักการทำงานของวงจรลอจิกคอมบิเนชั่น
5.สามารถออกแบบวงจรลอจิกคอมบิเนชั่นได้
6.เข้าใจหลักการทำงานของวงจรซีเควนเชียล
7.สามารถออกแบบวงจรวงจรซีเควนเชียลได้
8.สามารถนำวงจรดิจิตอลไปใช้ในงานอุตสาหกรรมได้
9.เข้าใจการทำงานของอุปกรณ์ลอจิกชนิดโปรแกรมได้
10..มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาวงจรดิจิตอลและการออกแบบลอจิก
ศึกษาเกี่ยวกับทฤษฎีสวิทชิ่ง คณิตศาสตร์บูลีน ฟังก์ชั่นลอจิก ลอจิกเกท ตรรกะวงจรคอมไบเนชั่น วงจรซีเควลเซียล วงจรคณิตศาสตร์ ส่วนประกอบของหน่วยความจำ พื้นฐาน การออกแบบ วิเคราะห์ สังเคราะห์ การตรวจสอบความถูกต้องการทำงานของวงจร แบบจำลอง จุดเสียและการทดสอบวงจรดิจิทัล
ศึกษาเกี่ยวกับวงจรคอมไบเนชั่น วงจรซีเควลเซียล วงจรคณิตศาสตร์ ส่วนประกอบของหน่วยความจำ พื้นฐาน การออกแบบ วิเคราะห์ สังเคราะห์ การตรวจสอบความถูกต้องการทำงานของวงจร แบบจำลอง จุดเสียและการทดสอบวงจรดิจิทัล
1.) อาจารย์ประจำรายวิชาประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็ปไซด์สาขาวิชา
2.)อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
ผลการเรียนรู้หลัก มีวินัย ตรงต่อเวลา และมีจรรยาบรรณทางวิชาการ
 
1)บรรยายพร้อมยกตัวอย่างผลเสียจากการไม่ทำรายงานและการบ้านด้วยตนเอง
2)กำหนดให้นักศึกษาทำรายงานเป็นกลุ่มเพื่อฝึกร่วมมือและการทำงานเป็นทีม
ประเมินผลพฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
มีความรู้ความเข้าใจในหลักการและวิธีการออกแบบวงจรดิจิตอลขั้นสูง
บรรยาย ให้กรณีศึกษา กำหนดโจทย์การบ้าน
ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบ การทำรายงาน ชิ้นงาน และการบ้าน
มีความสามารถในการวิเคราะห์และการคำนวณอย่างเป็นระบบเพื่อแก้ปัญหาและโจทย์
บรรยาย ให้กรณีศึกษา กำหนดโจทย์การบ้าน
ตรวจสอบกระบวนการคิดของนักศึกษาจากโจทย์การบ้านและผลของชิ้นงาน
สามารถสื่อสารและรับผิดชอบงานในกลุ่ม
กำหนดให้นักศึกษาทำรายงานเป็นกลุ่ม
ประเมินจากรายงานและการบ้าน
สามารถใช้ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและคอมพิวเตอร์ช่วยในการแก้ไขโจทย์ทางคำนวณ การ
คิดหาอัลกอริทึมเพื่อแก้ไขปัญหา และการสืบค้นข้อมูล
กำหนดโจทย์การบ้านที่ต้องอาศัยทักษะการวิเคราะห์เชิงอัลกอริทึม และทักษะการทำงาน
ตรวจสอบกระบวนการคิด กระบวนการพัฒนาชิ้นงาน ของนักศึกษาจากโจทย์การบ้าน
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 คุณธรรม จริยธรรม โดยการสังเกต ทุกสัปดาห์ 6%
2 ความรู้ ตรวจสอบการบ้าน และการสอบ ทุกสัปดาห์ 40%
3 ทักษะทางปัญญา ตรวจสอบการบ้าน และการสอบ ทุกสัปดาห์ 40%
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความรับผิดชอบ ตรวจสอบรายงานกลุ่ม 5, 7,13, 15 6%
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ตรวจสอบการบ้าน 3,5, 7,9, 11, 13,15 8%
1) “Digital Fundamentals”, Thomas L.Floyd, Tenth Edition, Pearson Educational International, Prentice Hall.
2) “การออกแบบดิจิตอลและวงจรตรรก”, รศ.ดร. สมศักดิ์ มิตะถา, ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้า เจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
หนังสือที่ใช้ประกอบการเรียนการสอน
3) Digital Principles and Design ของ Donald D.Givone บริษัท McGROW.HILL
4) Basic Digital Electronics ของ Alvis J. Evans บริษัท PROMPT publications
5) การออกแบบวงจร ด้วยไอซี TTL ของ ธานินทร์ ถาวรศาสนวงศ์ หจก.สำนักพิมพ์ฟิสิกส์เซ็นเตอร์
6) วงจรดิจิตอลและการออกแบบลอจิก ของ นภัทร วัจนเทพินทร์ บริษัท สกายบุ๊กส์ จำกัด
7) DIGITAL LOGIC CIRCUIT ANALYSIS & DESIGN ของ Victor P.Nelson
1) ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ของสถาบัน
2) แหล่งข้อมูลสืบค้นบน Internet
1) http://www.vhdl.org/
2) http://www.ailogictechnology.com/
3) http://www.cs.ucla.edu/Logic_Design.
4) http://www.xilinx.com.
5) http://www.electoday.com 6) http://www.logiccircuit.org
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาโดยผ่านเว็บของสำนักทะเบียนและประมวลผล
1) ผลการเรียนของนักศึกษา ผลการสอบ
2) การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
1) สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
2) การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
การทวนสอบในระดับหลักสูตร จากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย มีระบบประกันคุณภาพภายใน เพื่อใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
ปรับปรุงรายวิชาทุกปีตามแบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา