การออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก

Timber and Steel Design

1. 1 รู้หลักการออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก
1.2 เข้าใจการออกแบบโครงสร้างรับแรงดึง แรงอัด แรงดัด คานประกอบ
1.3 เข้าใจการออกแบบรอยต่อ
1.4 เข้าใจการออกแบบโครงข้อหมุน
1.5 เห็นความสำคัญของวิชาการออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เป็นการเตรียมความพร้อม ในการนำความรู้ ความเข้าใจ ไปใช้เป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพ
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก การออกแบบองค์อาคารรับแรงดึงและองค์อาคารรับแรงอัด องค์อาคารรับแรงดัดและแรงในแนวแกนรวมกัน คานประกอบขนาดใหญ่การออกแบบรอยต่อ การออกแบบโครงสร้างข้อหมุน และโครงข้อแข็ง
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื้อสัตย์สุจริต มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสงคม มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้ง เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคมมีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1. สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม
2. สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม
3. เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง และสังคม
4. ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด
5. เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง ตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย
6. ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม
7. ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
1. ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด
2. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3. ประเมินจากคุณภาพของงานที่มอบหมาย
4. มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะส
1. รู้หลักการออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก
2. เข้าใจการออกแบบโครงสร้างรับแรงดึง แรงอัด แรงดัด คานประกอบ
3. เข้าใจการออกแบบรอยต่อ
4. เข้าใจการออกแบบโครงข้อหมุน
5. เห็นความสำคัญของวิชาการออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก
1. บรรยาย ยกตัวอย่าง ร่วมกับการสอนแบบสื่อสาร สองทาง โดยเน้นให้นักศึกษาหาทางค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
2. เพิ่มการสอนนอกห้องเรียน โดยศึกษาจากประสบการณ์จริงในเรื่องที่ต้องสร้างความเข้าใจ
1. ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2. ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิด วิเคราะห์ และบูรณาการองค์ความรู้ได้เป็นอย่างดี
1. การมอบหมายการบ้าน ที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์
2. การมอบหมายงานให้ศึกษา ค้นคว้า ทำรายงาน และสร้างชิ้นงาน
3. การสะท้อนแนวคิด วิเคราะห์ วิจารณ์จากงานที่ได้ทำ
1. สอบย่อย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการเข้าใจหลักการ และการคำนวณเพื่อการวิเคราะห์ บูรณาการองค์ความรู้
2. ประเมินผลจากการทำงาน/การบ้าน
3. วัดผลจากการทำรายงาน การนำเสนอผลงาน ชิ้นงานที่ทำ
4. สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
1. พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
2. พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
3. พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตาม กำหนดเวลา
1. จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
2. มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล
3. การนำเสนอรายงาน
1. ประเมินตนเอง และเพื่อน
2. ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
3. ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
1. ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
2. พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในด้านการพูด การฟัง การแปล
3. พัฒนาทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้และสืบค้นข้อมูล
4. พัฒนาทักษะในการแสวงหาความรู้ ข้อมูลสารสนเทศในการพัฒนาตนเอง และการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม
5. พัฒนาทักษะในการนำเสนอรายงานโดยสามารถเลือกรูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งข้อมูลต่างๆ
2. นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1. ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสม
2. ประเมินจากการมีส่วนร่วมนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านความสัมพันธ์บุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 33011311 การออกแบบโครงสร้างไม้และเหล็ก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การทดสอบย่อย 1-15 10%
2 สอบกลางภาค 8 30%
3 สอบปลายภาค 17 40%
4 มอบหมายงานและประเมินจากผลงาน 20%
ศ.ดร.วินิต ช่อวิเชียร,การออกแบบโครงสร้างไม้
ศ.ดร.วินิต ช่อวิเชียร,การออกแบบโครงสร้างเหล็ก
-
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในรายวิชา
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

                  2. แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
1. ผลการเรียนของนักศึกษา
2. การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
    1. สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
1. การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น
2. มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
1. ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4