กฎหมายธุรกิจ

Business Law

1.  เข้าใจหลักกฎหมายที่สำคัญในทางธุรกิจ
2.  เข้าใจขั้นตอนการปฏิบัติตามกฎหมายในการประกอบกิจการงานต่างๆ
3.  นำความรู้กฎหมายที่เกี่ยวกับธุรกิจไปใช้ในการประกอบธุรกิจต่าง ๆ
4.  แก้ปัญหาเบื้องต้นในทางกฎหมายที่เกี่ยวกับธุรกิจด้านต่างๆ
5.  มีจิตสำนึกที่ดีต่อการใช้กฎหมายเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการดำเนินชีวิต
เพื่อเป็นการพัฒนาปรับปรุงเพื่อให้สอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ เพื่อให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงแก้ไขกำหมายใหม่ ให้มีความทันสมัยและให้ผู้เรียนเกิดแนวคิด ฝึกวิเคราะห์ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางปฏิบัติงานได้
ศึกษากฎหมายเกี่ยวกับการจัดองค์กรธุรกิจและกฎหมายเกี่ยวกับการประกอบกิจกรรมทางธุรกิจ เช่น หลักกฎหมายซื้อขาย สัญญาขายฝาก เช่าทรัพย์ เช่าซื้อ กู้ยืม ค้ำประกัน จำนอง จำนำ  ตั๋วเงิน ทรัพย์สินทางปัญญา กฎหมายอื่นที่จำเป็นและจริยธรรมทางธุรกิจ
3.3 จำนวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์จะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล     อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มนอกชั้นเรียน ตามความต้องการของนักศึกษา 
2 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ) ดังนี้        3.3.1 วันพุธ คาบกิจกรรม เวลา 15.00-17.00 น.
       3.3.2 E-mail: psychometrer@hotmail.com, nattapanpanyaroj@gmail.com
       3.3.3 โทร. 08-1885-9686
1.1 มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและผู้อื่น
ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่นและมีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม
 1.2 มีความกตัญญู ความเสียสละ ความอดทน ความเพียรพยายาม
 1.3 มีความพอเพียงเป็นหลักใน
การดำเนินชีวิตโดยยึดแนวคิดพอประมาณความมีเหตุผลและการสร้างภูมิ
คุ้มกัน
 1.4 มีความเคารพต่อกฎระเบียบ
และข้อบังคับต่างๆขององค์กรและ
สังคม
 1.5 มีจิตสำนึกและมีมโนธรรม
ที่แยกแยะความถูกต้อง ความดี ความชั่ว
1.อธิบายถึงการใช้กฎหมายและหลักการมีจริยธรรมในการดำรงชีวิต
2. พานักศึกษาไปฟังการว่าความใน
สถานการณ์จริง ที่ศาลจังหวัดน่าน
3. ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยด้านการ
รับผิดชอบต่อการเข้าเรียนให้ตรง
เวลา เครื่องแต่งกายที่ถูกระเบียบ
4. กำหนดงานเป็นกลุ่มย่อย เน้นการมีส่วนร่วม และแสดง
ความคิดเห็น
1.นักศึกษาสามารถตอบข้อซักถามจาก
อาจารย์ผู้สอน
2. นักศึกษาวิเคราะห์กรณีศึกษาได้
3. พิจารณาจากเวลาการเข้าชั้นเรียน
ของนักศึกษา และการส่งงานที่ได้รับ
มอบหมาย
4. พิจารณาจากผลงานกลุ่มและการมี
ส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ (Knowledge)
 2.1 มีความรู้และความเข้าใจ
ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เป็น
พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการเรียนด้าน
บริหารธุรกิจ มีครอบคลุมทั้ง
การบัญชี เศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ ศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
 2.2 มีความรู้และความเข้าใจ
สาระสำคัญของศาสตร์ด้านบริหาร
ธุรกิจ  ทางการตลาด การเงิน รวมทั้งการจัดองค์การและทรัพยากรมนุษย์
 2.3 มีความรู้และความเข้าใจใน
สาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการ
บริหารธุรกิจในด้านการวางแผน
การควบคุมและการประเมินผลการ
ดำเนินงานรวมทั้งการปรับปรุง
แผนงาน
 2.4 มีความรู้เกี่ยวกับความก้าว
หน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้าน
บริหารบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความ
เข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง
และผลกระทบอย่างเท่ากัน
1. บรรยายและแบบฝึกหัด เพื่อเปรียบเทียบการใช้งานกฎหมายกับชีวิตจริง
2. สอดแทรกตัวอย่างกรณีศึกษา และพาไปฟังการพิจารณาคดีจริง
ที่ศาลจังหวัดน่าน
1. ทำการทดสอบย่อย
2. วัดผลจากคะแนนสอบกลางภาค และปลายภาคตามเกณฑ์
3. ประเมินจากงานที่ได้รับมอบหมาย
และการนำเสนอผลงาน
3.1 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ต่อยอดกรอบความรู้เดิม สามารถ
บูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษาและมีประสบการณ์เพื่อเกิด
นวัตกรรม กิจกรรม หรือแนวทางใน
การบริหารธุรกิจใหม่ๆ
 3.2 สามารถสืบค้น จำแนกและ
วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ซึ่งสาร
สนเทศที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไข
ปัญหาและตัดสินใจอย่างเหมาะสม
 3.3 สามารถคิดค้นทางเลือก
ใหม่ๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ทาง
เลือกและผลกระทบที่เป็นผลจากทางเลือกอย่างรอบด้าน โดยการนำความ
รู้และประสบการณ์ประยุกต์ใช้
 3.4 มีความกล้าในการตัดสินใจ
เลือกทางที่สอดคล้องกับสถานการณ์
1. บรรยายและถามตอบ แสดง
ความคิดเห็นทางกฎหมายธุรกิจ
2. ยกตัวอย่างกรณีศึกษาที่พบเห็นได้
ทั่วไปในสังคม
3. สรุปบทเรียนโดยใช้เหตุการณ์
ที่เกี่ยวข้องกับบทเรียน
1. นักศึกษาสามารถตอบข้อซักถามและ
แบบฝึกหัดจากอาจารย์ผู้สอนได้
2.นักศึกษาวิเคราะห์กรณีศึกษาได้ หาคำตอบ และประยุกต์ใช้หลักการ
ทางกฎหมายธุรกิจได้อย่างมีเหตุผล
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (Interpersonal Skills and Responsibility)
 4.1 มีความสามารถในการ
ประสานงาน มีมนุษยสัมพันธ์
และสามารถสร้างสัมพันธภาพอันดี
กับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึง
ความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่าง
มีจิตวิทยา
 4.2 มีความสามารถในการทำงาน
เป็นกลุ่ม การประสานงาน การมอบ
หมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมให้ความช่วยเหลือและ
อำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน
ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความเป็นผู้นำที่มีความรับผิดชอบ
 4.3 มีความกระตือรือร้นและ
ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับ
ฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งมีความเป็นผู้ตามในจังหวะ
ที่เหมาะสม
 4.4 มีความสามารถในการริเริ่ม
แสดงความคิดเห็นใหม่ๆที่อาจมี
ความแตกต่างอย่างสร้างสรรค์
1. มอบหมายงานให้ทำงานเดี่ยว
และกำหนดระยะเวลาการส่งงาน
2. มอบหมายงานกลุ่ม ที่ต้องระดม
ความคิดร่วมกันและนำเสนองาน
1. ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่
ได้รับมอบหมายและตอบคำถาม
จากอาจารย์ได้ถูกต้อง
2. ประเมินพฤติกรรมในการทำกิจกรรม
5.1 สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติและการวิเคราะห์
เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และ
ตัดสินใจทางธุรกิจ
 5.2 สามารถสื่อสารภาษาไทย
และภาษาอังกฤษได้อย่างมี ประสิทธิภาพ
 5.3 สามารถใช้โปรแกรมคอมพิว
เตอร์พื้นฐานและเทคโนโลยีระบบ
สารสนเทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน
 5.4 สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย
และสร้างความเข้าใจได้อย่างถูกต้อง
ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและ
การนำเสนอด้วยวาจา
 5.5 สามารถสื่อสารด้วย
บุคลิกภาพที่น่าเชื่อถือและสามารถ
เลือกใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับกลุ่มบุคคลที่มีพื้นฐาน
และแนวคิดที่หลากหลาย
 5.6 ความสามารถนำเทคโนโลยี
ไปเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนใน
การดำเนินงานและทราบถึงข้อจำกัด
ของเทคโนโลยี
 5.7 ความเหมาะสมนำเทคโน
โลยีการสื่อสารแบบเครือข่าย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสาร
และดำเนินงาน
1. ใช้ใบงานให้นักศึกษาค้นคว้า
หาข้อมูลเพื่อประกอบการเรียน การทำรายงานทั้งเดี่ยวและกลุ่ม ทั้งจากเอกสารที่มีและเอกสาร
อิเล็กทรอนิกส์
2. มีการนำเสนอผลงานด้วย
เทคโนโลยีสารสนเทศ
1. นำเสนอผลการทำงานกรณีศึกษา
ด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ และตอบ
ข้อซักถาม
2. สรุปและอภิปรายรายงานร่วมกัน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ 3.ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิง ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีความซื่อสัตย์สุจริต ซื่อตรงต่อหน้าที่ ต่อตนเองและผู้อื่น ไม่เอารัดเอาเปรียบผู้อื่นและมีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม 1.4 มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆขององค์กรและ สังคม 1.5 มีจิตสำนึกและมีมโนธรรม ที่แยกแยะความถูกต้อง ความดี ความชั่ว 1.2 มีความกตัญญู ความเสียสละ ความอดทน ความเพียรพยายาม 1.3 มีความพอเพียงเป็นหลักใน การดำเนินชีวิตโดยยึดแนวคิดพอประมาณความมีเหตุผลและการสร้างภูมิ คุ้มกัน 2.2 มีความรู้และความเข้าใจ สาระสำคัญของศาสตร์ด้านบริหาร ธุรกิจ ทางการตลาด การเงิน รวมทั้งการจัดองค์การและทรัพยากรมนุษย์ 2.1 มีความรู้และความเข้าใจ ในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เป็น พื้นฐานที่จำเป็นสำหรับการเรียนด้าน บริหารธุรกิจ มีครอบคลุมทั้ง การบัญชี เศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ ศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ 2.3 มีความรู้และความเข้าใจใน สาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการ บริหารธุรกิจในด้านการวางแผน การควบคุมและการประเมินผลการ ดำเนินงานรวมทั้งการปรับปรุง แผนงาน 2.4 มีความรู้เกี่ยวกับความก้าว หน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้าน บริหารบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความ เข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง และผลกระทบอย่างเท่ากัน 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ ต้องพัฒนา (Cognitive Skill) 3.1 มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ต่อยอดกรอบความรู้เดิม สามารถ บูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษาและมีประสบการณ์เพื่อเกิด นวัตกรรม กิจกรรม หรือแนวทางใน การบริหารธุรกิจใหม่ๆ 3.3 สามารถคิดค้นทางเลือก ใหม่ๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ทาง เลือกและผลกระทบที่เป็นผลจากทางเลือกอย่างรอบด้าน โดยการนำความ รู้และประสบการณ์ประยุกต์ใช้ 3.2 สามารถสืบค้น จำแนกและ วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ซึ่งสาร สนเทศที่เป็นประโยชน์ในการแก้ไข ปัญหาและตัดสินใจอย่างเหมาะสม 3.4 มีความกล้าในการตัดสินใจ เลือกทางที่สอดคล้องกับสถานการณ์ 4.2 มีความสามารถในการทำงาน เป็นกลุ่ม การประสานงาน การมอบ หมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมให้ความช่วยเหลือและ อำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ซึ่งเป็นการแสดงออกถึงความเป็นผู้นำที่มีความรับผิดชอบ 4.1 มีความสามารถในการ ประสานงาน มีมนุษยสัมพันธ์ และสามารถสร้างสัมพันธภาพอันดี กับผู้อื่นด้วยพื้นฐานความเข้าใจถึง ความแตกต่างของผู้ที่เกี่ยวข้องอย่าง มีจิตวิทยา4.3 มีความกระตือรือร้นและ ความสามารถในการทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับ ฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งมีความเป็นผู้ตามในจังหวะ ที่เหมาะสม 4.4 มีความสามารถในการริเริ่ม แสดงความคิดเห็นใหม่ๆที่อาจมี ความแตกต่างอย่างสร้างสรรค์ 5.2 สามารถสื่อสารภาษาไทย และภาษาอังกฤษได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 5.3 สามารถใช้โปรแกรมคอมพิว เตอร์พื้นฐานและเทคโนโลยีระบบ สารสนเทศที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน 5.4 สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและ การนำเสนอด้วยวาจา 5.1 สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติและการวิเคราะห์ เชิงปริมาณมาใช้ในการวิเคราะห์และ ตัดสินใจทางธุรกิจ 5.5 สามารถสื่อสารด้วย บุคลิกภาพที่น่าเชื่อถือและสามารถ เลือกใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับกลุ่มบุคคลที่มีพื้นฐาน และแนวคิดที่หลากหลาย 5.6 ความสามารถนำเทคโนโลยี ไปเป็นเครื่องมือในการสนับสนุนใน การดำเนินงานและทราบถึงข้อจำกัด ของเทคโนโลยี 5.7 ความเหมาะสมนำเทคโน โลยีการสื่อสารแบบเครือข่าย เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการสื่อสาร และดำเนินงาน
1 BBACC101 กฎหมายธุรกิจ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1-4.2 สอบกลางภาค 9 35%
2 5.1-8.3 สอบปลายภาค 17 35%
3 3.4, 4.1, 4.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 5.2,5.3 งานที่ได้รับมอบหมายและการเก็บคะแนน 4,6,10,12 20%
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช : เอกสารการสอนชุดวิชา กฎหมายธุรกิจ หน่วยที่ 7-15, กรุงเทพฯ,
สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2540.
เผด็จ     เอมวงศ์ : กฎหมายธุรกิจ, กรุงเทพฯ ,สำนักพิมพ์เอมพันธ์จำกัด, 2547.
ทวีเกียรติ     มีนะกนิษฐ : กฎหมายเบื้องต้นทางธุรกิจ, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2549.
-
- ข้อมูลข่าวสาร กฎหมายปัจจุบัน ค้นหาจากอินเตอร์เน็ต
การซักถามในชั้นเรียนโดยอาจารย์และเพื่อนร่วมชั้น การอธิบายสิ่งที่เรียน ให้นักศึกษายกตัวอย่างจากสิ่งที่เรียน  นำเสนอให้เห็นถึงแนวทางการประยุกต์ใช้งาน โดยผ่านการสอบถามนักศึกษา
ผลการสอบ การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ การสังเกตผลงานจากโครงงานเดี่ยว
สัมมนาการจัดการเรียนการสอน ทำการวิจัยในชั้นเรียนดูประสิทธิผลของรายวิชา
การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ผู้สอน แต่อาจารย์ที่ทวนสอบต้องมีความรู้ในวิชานี้ มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือ ตามข้อเสนอแนะและการปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชาในข้อ 7.3