การออกแบบเครื่องประดับ

Jewelry Design

 1.1  เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการออกแบบเครื่องประดับด้วยมือ    
 1.2  เขา้ใจกระบวนการออกแบบและหลกัการออกแบบ
 1.3  สามารถวเิคราะห์การผลิตได้    
 1.4  สามารถนา เสนอผลงานการออกแบบเครื่องประดับ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญหาในการนำความรู้ ความเขา้ใจในการออกแบบ และเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เกี่ยวกับงาน เครื่องประดับ ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านการออกแบบเชิง อุตสาหกรรมและการออกแบบในทางศิลปะที่ได้มีความก้าวหน้าไปตามยุคสมัย 
   ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการออกแบบ  เครื่องประดับโดยใช้หลักการออกแบบกระบวนการออกแบบเครื่องประดับ การฝึกวาดภาพเครื่องประดับอัญมณี การวเิคราะห์การผลิต คำสั่งการผลิตและการนำ เสนอผลงานออกแบบเครื่องประดับ
    อาจารย์ประจา รายวิชา  จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ 
1.1.1 ซื่อสัตย์สุจริต  มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเอง และ สังคม
1.1.2 มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
 1.2.1 บรรยาย และยกตัวอย่างเกี่ยวกับเนื้อหาของการออกแบบเครื่องประดับ
 1.2.2 บรรยาย ฉายภาพนิ่ง สื่อการเรียนการสอน ยกตัวอย่างประกอบคำบรรยาย
 1.2.3 จัดกิจกรรม จิตสาธารณะปลูกฝังจรรยาบรรณวชิาชีพ ฟังธรรมะห้า นาที
1.3.1 สังเกต ขานชื่อ การเข้าชั้นเรียน การเข้าร่วมกิจกรรมสาธารณะ
1.3.2 ประเมินผลจากการสอบทฤษฎี และสอบปฎิบัติ
1.3.3 ตรวจสอบผลการจัดกิจกรรม
1.3.4 สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฏระเบียบ 
2.1.1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง             
2.1.2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ
 
 2.2.1 บรรยาย ใช้สื่อการสอนเน้นหลกัการออกแบบ ฝึกปฎิบัติการออกแบบ เครื่องประดับเพื่อให้เกิดองค์ความรู้      
 2.2.2 รวบรวมผลงานการปฏิบัติในรูปแบบแฟ้มสะสมงาน    
 2.2.3 มอบหมายงานกลุ่มโดยใช้หัวข้อตามหลักการออกแบบเครื่องประดับ
2.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 
 
3.1.1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูล  ที่หลากหลายอย่างมีจารณญาณ  
3.1.2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
 3.2.1 มอบหลายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์  
 3.2.2 ให้น้กศึกษาลงมือปฏิบัติจริง    
 3.2.3 การศึกษา ค้นคว้ารายงานทางเอกสารและรายงานหน้าชั้นเรียน  
 3.2.4 การสะทอ้นแนวคิดจากการปฏิบัติ
 
3.3 วธิีการประเมินผล
3.3.1 ประเมินจากการคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาและการน าเสนอผลงาน
3.3.2 ประเมินผลจากงานที่ได้รับมอบหมายในแต่ละหัวเรื่อง 
4.1.1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
4.1.2 มีความรับผิดชอบ ต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา ตัวอย่างผลงานเครื่องประดับ
4.2.2 มอบหมายรายงานกลุ่ม และรายบุคคล
4.2.3 การนำเสนอผลงานหลังจากฝึกปฏิบัติให้สอดคล้องกับการออกแบบ เครื่องประดับ
 
4.3.1 ประเมินตนเอง จากรายงานหน้าชั้นโดยอาจารย์ และนักศึกษา
4.3.2 พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา   
 
5.1.1สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียน ในการสื่อสารโดยทั่วไปตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.1.2สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 
5.2.1มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การหาขอ้มูลจากแหล่งที่มา ข้อมูลที่น่าเชื่อถือ      และนำเสนอหน้าชั้นเรียน
5.2.2ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย ผล
5.2.3ศึกษาดูงานเครื่องประดับ ตัวอย่าง สถานที่จัดเเสดงผลงานเครื่องประดับ
 5.3.1 ประเมินจากผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่สอดคล้องกับการออกแบบ เครื่องประดับ    
มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา ตัวอย่างผลงานเครื่องประดับ
ฝึกทักษะ ฝีมือ
ประเมินจากผลการวิเคราะห์ข้อมูลที่สอดคล้องกับการออกแบบ เครื่องประดับ    
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 3 4 1 2 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ107 การออกแบบเครื่องประดับ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านความรู้ สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 15% 15%
2 ด้านทักษะ วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอ รายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 คุณธรรมจริยะธรรม การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ทวีเดช จิ๋วบาง. เรียนรู้ทฤษฏีสี. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส์, 2536.
เทียนชัย ตั้งพรประเสริฐ. เอกสารประกอบการสอนองค์ประกอบศิลป์ 1 ชศป. 2004. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เฟื่องฟ้าพริ้นติ้ง, 2540.
วัฒนะ จูฑะวิภาค.  หลักการออกแบบเครื่องประดับ.  กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งประเทศไทย,2002.
วิรุณ ตั้งเจริญ.  ทฤษฏีสีเพื่อการสร้างสรรค์ศิลปะ. หนังสือชุด 60 ปี อารี สุทธิพันธุ์ 2534. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮาส์, 2535.
สกนธ์ ภู่งามดี. การออกแบบและผลิตงานโฆษณา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แซทโฟร์ พริ้นติ้ง, 2546.
สถาบันวิจัยและพัฒนาการออกแบบเครื่องประดับแห่งชาติ.  หลักการออกแบบเครื่องประดับ.  กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งประเทศไทย,2556
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอน
2.2   อภิปรายของผู้เรียนต่อเนื้อหาที่เรียนท้ายชั่วโมง
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่
มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ