การฝึกเบื้องต้นทางวิศวกรรม

Fundamental of Engineering Training

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพื้นฐานทางวิศวกรรม หลักการปฎิบัติงานพื้นฐานทางด้านวิศวกรรมความปลอดภัย
2.1 เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมในการนำความรู้ ความเข้าใจ ในการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมาย
2.2 เพื่อเป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้อง
ฝึกปฏิบัติงานพื้นฐานทางเทคด้านวิศวกรรม ที่เกี่ยวข้องกับเครื่องมือวัดเครื่องมือกลพื้นฐาน การเชื่อมประสาน ครื่องมือทั้วไป และหลักการปฎิบัติงานพื้นฐานทางด้านวิศวกรรมอย่างปลอดภัย
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
4.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
4.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
4.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
4.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 สอนวิธีใช้เครื่องมือที่ถูกต้องสำหรับใช้ในการฝึกปฏิบัติ
1.2.2 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในระยะเวลาที่กำหนด
1.2.3 สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเองและสังคม 1.2.4 ผู้สอนประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี


 
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2  ประเมินจากผลการปฎิบัติงาน และผลงานที่ได้รับมอบหมายในห้องเรียน
มีความรู้เกี่ยวกับ การปฎิบัติงานในทางวิศวกรรม ขั้นพื้นฐาน ความปลิดภัยในการปฎิบัติงาน
สอนวิธีการใช้เครื่องมือ และให้นักศึกษาปฎิบัติงานตามใบงาน
2.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.3.2 ประเมินจากผลการปฎิบัติงาน และผลงานที่ได้รับมอบหมายในห้องเรียน
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ จากการใช้เครื่องมือในทางวิศวกรรม
3.2.1 ให้นักศึกษาลงมือปฏิบัติตามใบงานและขั้นการทำงาน
3.3.1 พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
3.3.2 ประเมินจากผลการปฎิบัติงาน และผลงานที่ได้รับมอบหมายในห้องเรียน
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการปฎิบัติงาน
4.3.1   สังเกตการทำงานเป็นกลุ่มของนักศึกษา
4.3.2  ประเมินจากแบบทดสอบในคาบเรียน  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ
5.1.2   พัฒนาทักษะในการใช้เครื่องมือวัด อุปกรณ์ที่ใช้ในการวัด
สาธิตวิธีใช้เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองให้นักศึกษาดู
สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาขณะฝึกปฎิบัติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ภาคปฏิบัต วัดตรวจสอบขนาดของชิ้นงานตามใบงานที่กำหนด การส่งงานตามใบงานที่มอบหมาย ตลอดภาค การศึกษา 90%
2 การเข้าชั้นเรียน เวลาเรียน การตรงต่อเวลา ตลอดภาคการศึกษา 10%
เอกสารประกอบการสอน และใบงาน การฝึกพื้นฐานทางเทคโนโลยีเครื่องกล Mechanical Technology Training เรียบเรียงโดย อาจารย์สมพร ติ๊บขัด - หนังสือเรียนอิเล็กทรอนิกส์ วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น ของบริษัท ส านักพิมพ์ เอมพันธ์ - สื่อแผ่นใสประกอบการเรียนการสอน วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น เรียบเรียงโดย อาจารย์ชะลอ การ ทวี จัดพิมพ์โดยบริษัท ส านักพิมพ์ เอมพันธ


 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดท าโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการน าแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดท าเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา


 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนร


 
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม สมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน


 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผล การ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจ าหลักสูตร 4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม


 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงกา ร สอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหา ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ