การวางแผนเงินทุนและกำกับดูแลการลงทุน

Capital Planning and Investment Control

เข้าใจข้อมูลทางบัญชีและการเงิน ทฤษฎีการเงินการจัดทำงบประมาณ การวางแผนเงินทุน การบริหารความเสี่ยง การจัดหาแหล่งเงินทุน การวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย โดยเฉพาะค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการใช้บริการ การบริหารการจ่ายผลตอบแทนแก่เจ้าของทุน การควบรวมและการซื้อกิจการ

วิเคราะห์ข้อมูลทางบัญชีและการเงิน ทฤษฎีการเงินและการวิเคราะห์การลงทุนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ

3. บูรณาการทฤษฎี ความรู้และประสบการณ์ที่ได้ศึกษานำไปใช้ในการวางแผนเงินทุนได้อย่างเหมาะสม
เพื่อให้นักศึกษามีความสามารถในการบูรณาการวิชาการ ความรู้และข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น และช่วยฝึกทักษะการวางแผนเงินทุนของธุรกิจได้
เพื่อศึกษาการอ่านและวิเคราะห์ข้อมูลทางบัญชีและการเงิน ทฤษฎีการเงินเพื่อช่วยในการวิเคราะห์การลงทุนทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ การจัดทำงบประมาณ การวางแผนเงินทุน การบริหารความเสี่ยง การจัดหาแหล่งเงินทุน การวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย โดยเฉพาะค่าใช้จ่ายที่เกิดจากการใช้บริการ การบริหารการจ่ายผลตอบแทนแก่เจ้าของทุน การควบรวมและการซื้อกิจการ
To study the analysis and interpretation of accounting and financial data, financial theories for IT investment, budget preparation, capital planning, risk management, capital mobilization, cost analysis, especially cost for services, management of compensation to investors, mergers and acquisitions.
1 ชม/สป
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
ไม่มีข้อมูล
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา
เวบไซด์ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย SETTRED.COM
บทเรียนออนไลน์ จากตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย SETTRED.COM
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ