การบัญชีชั้นต้น

Introduction to Accounting

ศึกษาความหมายและวัตถุประสงค์ของการบัญชี ประโยชน์ของข้อมูลทางการบัญชี วิวัฒนาการและจรรยาบรรณของวิชาชีพบัญชี ความสำคัญของการบัญชีต่อการประกอบธุรกิจรูปแบต่างๆ แม่บทการบัญชีและ         งบการเงิน การวิเคราะห์รายการค้าและวิธีการบันทึกบัญชีตามหลักบัญชีคู่ กระบวนการบันทึกบัญชีตามวงจรบัญชี การจัดทำงบทดลอง กระดาษทำการ ตลอดจนการจัดทำงบการเงินสำหรับกิจการให้บริการและซื้อขายสินค้า การบัญชีส่วนของเจ้าของ สมุดรายวันเฉพาะ การบัญชีขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม  การบัญชีพื้นฐานเกี่ยวกับบัญชีอุตสาหกรรม  และหลักการวิธีการเกี่ยวกับกระบวนการใบสำคัญ  รวมถึงความรับผิดชอบตามมาตรฐานการเรียนรู้ในแต่ละด้านดังนี้ (ตาม Domain of Leaning)
 
ด้านความรู้
ข้อ 2 (1) มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี
ข้อ 2 (3) สามารถบริหารเวลาและปรับวิถีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม
          ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
          ข้อ 4 (1) สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อให้สอดคล้องกับคำอธิบายรายวิชาในหลักสูตรและเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรีของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา
ศึกษาความหมายและวัตถุประสงค์ของการบัญชี ประโยชน์ของข้อมูลทางการบัญชี วิวัฒนาการและจรรยาบรรณของวิชาชีพบัญชี ความสำคัญของการบัญชีต่อการประกอบธุรกิจรูปแบต่างๆ แม่บทการบัญชีและ         งบการเงิน การวิเคราะห์รายการค้าและวิธีการบันทึกบัญชีตามหลักบัญชีคู่ กระบวนการบันทึกบัญชีตามวงจรบัญชี การจัดทำงบทดลอง กระดาษทำการ ตลอดจนการจัดทำงบการเงินสำหรับกิจการให้บริการและซื้อขายสินค้า การบัญชีส่วนของเจ้าของ สมุดรายวันเฉพาะ การบัญชีขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับภาษีมูลค่าเพิ่ม  การบัญชีพื้นฐานเกี่ยวกับบัญชีอุตสาหกรรม  และหลักการวิธีการเกี่ยวกับกระบวนการใบสำคัญ
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการโดยกำหนดเวลาไว้วันละ 1 ชั่วโมง ตั้งแต่เวลา 15.30-16.30 น.
ความรู้ที่ต้องได้รับ
ข้อ 2 (1) มีความรู้และความเข้าใจในแนวคิด ทฤษฎี หลักการ และวิธีการทางการบัญชี
ข้อ 2 (3) สามารถบริหารเวลาและปรับวิถีชีวิตอย่างสร้างสรรค์ในสังคม
เน้นหลักการทางทฤษฎีและภาคปฏิบัติให้เป็นไปตามเนื้อหาสาระของคำอธิบายรายวิชา ให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูล  และทำแบบฝึกหัด
ประเมินจากการทดสอบกลางภาคและปลายภาค ประเมินจากงานที่มอบหมาย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ข้อ 1 (2) ข้อ 2 (1) ข้อ 4 (1) สอบกลางภาค สอบปลายภาค 80 คะแนน
2 ข้อ 1 (2) ข้อ 2 (1) ข้อ 4 (1) วิเคราะห์กรณีศึกษา รายงาน และงานที่มอบหมาย 10 คะแนน
3 ข้อ 1 (2) ข้อ 4 (1) จิตพิสัย 10 คะแนน
สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์และสมเดช โรจน์คุรีเสถียร. การบัญชีขั้นต้น. สำนักพิมพ์แมคกรอ-ฮิล, 2549


 Web ไทย  1. สภาวิชาชีพบัญชี  www.fap.or.th  2. กรมสรรพากร  www.rd.go.th  3. สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์  www.sec.or.th  4. ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย  www.set.or.th  5. ธนาคารแห่งประเทศไทย  www.bot.or.th  6. กรมศุลกากร  www.customs.go.th  7. กรมสรรพาสามิต  www.excise.go.th  8. กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์  www.dbd.go.th  Web ต่างประเทศ  1. International Accounting Standards Board  www.iasb.org  2. The American Institute Of Certified Public Accountants  www.aicpa.org  3. The International Federation Of Accountants  www.ifac.org  4. U.S. Securities Exchange Commission  www.sec.gov
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนได้มีกลยุทธ์ ดังนี้

ผลการเรียนของนักศึกษา การทบทวนผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมองและหาข้อมูลเพิ่มเติม ดังนี้

สัมมนาการจัดการเรียนการสอน การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชามีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชาได้จากการสอบถามนักศึกษาหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้

การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบและการให้คะแนนพฤติกรรม
จากการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้

ปรับปรุงวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ