กลศาสตร์วิศวกรรม

Engineering Mechanics

หลังจากเรียนวิชานี้แล้วนักศึกษามีความรู้ความสามารถดังนี้
สามารถเรียนรู้และเข้าใจในหลักการเบื้องต้นของกลศาสตร์แรงและโมเมนต์ของแรง ระบบของแรงและผลลัพธ์ของระบบแรง การสมดลและการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ การวิเคราะห์แรงในชิ้นส่วนของโครงสร้างชิ้นส่วนของเครื่องจักรกลแรงภายใต้ของไหลที่อยู่นิ่ง จลศาสตร์และพลศาสตร์ของอนุภาคและวัตถุ กฎข้อสองของนิวตัน
เพื่อให้การปรับปรุงมีเนื้อหาสอดคล้องกับกรอบมาตรฐานคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการเบื้องต้นของกลศาสตร์แรงและโมเมนต์ของแรง ระบบของแรงและผลลัพธ์ของระบบแรง การสมดลและการเขียนแผนภาพวัตถุอิสระ การวิเคราะห์แรงในชิ้นส่วนของโครงสร้างชิ้นส่วนของเครื่องจักรกลแรงภายใต้ของไหลที่อยู่นิ่ง จลศาสตร์และพลศาสตร์ของอนุภาคและวัตถุ กฎข้อสองของนิวตัน
1
แสดงออกซึ่งการมีวินัย ขยัน อดทน เสียสละ ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ดี เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอนแต่ละรายวิชา ในด้านความซื่อสัตย์สุจริตในการสอบ รวมทั้งการมีมารยาททางวิชาการ การไม่คัดลอกผลงานทางวิชาการของผู้อื่น จัดกิจกรรมส่งเสริมและคิดแก้ปัญหาทางคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู และการมีจิตสำนึกสาธารณะ เช่น การยกย่องนักศึกษาที่ทำความดี การทำประโยชน์และเสียสละแก่ส่วนรวม
ประเมินจากรายงานการกระทำทุจริตในการสอบ การมีมารยาททางวิชาการ และการตรวจสอบการคัดลอกผลงานทางวิชาการของผู้อื่น ประเมินผลจากรายงานการจัดกิจกรรมทางด้านคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู และการมีจิตสำนึกสาธารณะ
มีความรอบรู้ในด้านความรู้ทั่วไป วิชาชีพครู และวิชาชีพเฉพาะ อย่างกว้างขวาง ลึกซึ้ง และเป็นระบบ สามารถนำหลักการและทฤษฎีในองค์ความรู้ที่ได้ศึกษาไปบูรณาการข้ามศาสตร์ และบูรณาการกับโลกแห่งความเป็นจริงได้อย่างเหมาะสม
เลือกใช้วิธีการสอนให้เหมาะสมตามหัวข้อของลักษณะรายวิชา โดยการวิเคราะห์และสังเคราะห์ตามสภาพจริง ส่งเสริมและชี้แนะการบูรณาการนำความรู้ร่วมกับศาสตร์อื่นๆ เพื่อนำมาประยุกต์เข้ากับโลกแห่งความเป็นจริงได้อย่างเหมาะสม ตลอดจนการฝึกงานในสถานประกอบการ และปฏิบัติประสบการณ์วิชาชีพครู
ประเมินผลตลอดภาคเรียน ประเมินผลจากงานที่มอบหมาย
มีจินตนาการในการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจและแก้ปัญหาที่มีความสลับซับซ้อน ในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนานวัตกรรม มีทักษะในการเป็นผู้นำความรู้เพื่อการสืบค้นข้อมูล วินิจฉัย วิเคราะห์และสรุปประเด็นของสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ
ใช้กระบวนการเรียนการสอนที่หลากหลายซึ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยฝึกทักษะด้านปฏิบัติการ  ให้ผู้เรียนสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ แล้ววินิจฉัย และสรุปประเด็นของสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณ และเป็นระบบ
ประเมินผลกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ประเมินผลจากการอธิปรายแนวคิดและวิธีการแก้ปัญหา ในประเด็นที่ได้จากการสืบค้นข้อมูลอย่างเป็นระบบ
สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ การทำงานเป็นทีม ช่วยเหลือและเอื้อต่อการแก้ไขข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
กำหนดบทบาท หน้าที่ การทำงานเป็นทีม ช่วยเหลือและเอื้อต่อการแก้ไขข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
ประเมินผลการนำเสนอผลงานหรือกิจกรรมทางวิชาการ
มีทักษะในการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูล ข่าวสารทั้งที่เป็นตัวเลขเชิงสถิติ คณิตศาสตร์ ภาษาพูดและภาษาเขียน อันมีผลทำให้สามารถเข้าใจ องค์ความรู้หรือประเด็นปัญหาได้อย่างรวดเร็ว สามารถใช้ดุลยพินิจในการสืบค้น วิเคราะห์ ประมวลผล แปลความหมายและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
ติดตามข้อมูลข่าวสารประเด็นสำคัญด้านวิชาการจากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ วิเคราะห์และแปลความหมายจากข้อมูลข่าวสาร
ความสามารถในการใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศในการติดตามข้อมูลข่าวสาร ความสามารถในการวิเคราะห์และแปลความหมาย ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการนำเสนอผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.3 1.4 2.1 2.3 3.1 3.2 4.3 5.1 5.2
1 TEDCC824 กลศาสตร์วิศวกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.3, 1.4, 4.3 การเข้าชั้นเรียนและพฤติกรรมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
2 2.1, 2.3, 3.1, 3.2, 4.3, 5.1, 5.2 การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
3 2.1, 2.3, 3.1, 3.2, 5.1 ทดสอบย่อย 2-7, 9-16 10%
4 2.1, 2.3, 3.1, 3.2, 5.1 สอบกลางภาค 8 30%
5 2.1, 2.3, 3.1, 3.2, 5.1 สอบปลายภาค 17 30%
J.L. Meriam, L.G. Kraige (2002). Engineering Mechanicals Statics 5th Edition
วีระศักดิ์ กรัยวิเชียร, ธีระยุทธ สุวรรณประทีป, สมาน เจริญกิจพูลผล (2546). กลศาสตร์วิศวกรรม ฉบับเสริมประสบการณ์ ภาคสถิตยศาสตร์ (Statics)
-  การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
-  แบบประเมินการสอนของอาจารย์โดยนักศึกษา
-  สรุปผลการประเมินการสอน
-  การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
-  ผลการเรียนและผลการทำงานกลุ่มของนักศึกษา
-  การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
-  การประชุมเชิงปฏิบัติการอาจารย์ผู้สอนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
-  ประชุมอนุมัติเกรดนักศึกษา
-  ทวนจากคะแนน และงานที่มอบหมาย
นำข้อมูลที่ได้จากการประเมิน ข้อ 1 และข้อ 2 มาวางแผนเพื่อปรับปรุงคุณภาพการสอน