การเขียนความเรียง

Essay Writing

1. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเขียนโครงร่างสาหรับเรียงความ การเขียนบทนำ เขียนลำดับเนื้อเรื่องและเขียนบทสรุป 2. เพื่อให้นักศึกษาสามารถพัฒนางานเขียนด้วยการใช้เทคนิควิธี ถอดความ สรุปความ เรียบเรียง และการอ้างอิงแหล่งข้อมูล 3. เพื่อให้นักศึกษาสามารถเขียนเรียงความขนาดสั้นในรูปแบบชนิดต่างๆ ที่ถูกต้องประกอบด้วย 3 – 5 ย่อหน้า และเขียนในหัวข้อที่หลากหลาย
1. เพื่อให้นักศึกษามีความเชี่ยวชาญการใช้ภาษาอังกฤษ เพื่อนาไปสู่วิชาการแขนงต่างๆ อันเป็นประโยชน์ในการประกอบอาชีพและการศึกษาต่อในระดับสูง 2. เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจวัฒนธรรมและภูมิปัญญาของสังคมนานาชาติโดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นสื่อ 3. เพื่อให้นักศึกษามีความการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง แสดงความคิดเชิงวิเคราะห์วิจารณ์ด้วยโลกทัศน์ที่กว้างขวาง สอดรับรูปแบบการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ปัจจุบัน 4. เพื่อให้นักศึกษามีความรับผิดชอบต่อตนเอง ต่อสังคมและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
ศึกษาและฝึกปฏิบัติการเขียนความเรียงชนิดต่างๆ โดยเขียนโครงร่างจัดลาดับเนื้อหา คำนำ เนื้อเรื่อง สรุป พัฒนางานเขียนโดยใช้ทักษะในการถอดความ สรุปความ เรียบเรียง และการอ้างอิงแหล่งข้อมูล Study and practice writing various types of essays including creating an outline, structuring an essay, drafting, editing and revising, paraphrasing, and quoting external sources
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1 มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสานึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม
2 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม
1 สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา
2 ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กาหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
3 กาหนดงานเป็นกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นากลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมีส่วนร่วม และแสดงความคิดเห็น
1 การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่ง กาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2 การส่งงานตามกาหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการเข้าร่วมกิจกรรม
3 การสังเกตพฤติกรรมในการทางานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน
4 ความเอื้อเฟื้อหรือความมีน้าใจต่อเพื่อนและครูอาจารย์
5 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สาคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง
2 มีความรู้และความเข้าใจในสาระสาคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดารงชีวิตประจาวัน
1 จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ
2 ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง
3 การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ
1 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2 รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการนาความรู้ไปตอบในแบบทดสอบ
3 ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา
4 ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน การทดสอบย่อย การนาเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน
1 สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง
2 คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป
1 จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบจากกรณีศึกษา
2 การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน
3 การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น
1 ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา
2 การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา และสื่อสารในบริบทต่าง ๆ
3 ประเมินจากการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ ที่เรียนมา ซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมาคาตอบเดียวจากกลุ่มคาตอบที่ให้มา
4 ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
1 สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง
2 จัดให้นักศึกษาได้ทากิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นาและผู้ตาม
1 การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
2 พฤติกรรมการทากิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา
3 พฤติกรรม ภาวการณ์เป็นผู้นา และผู้ตามที่ดี
4 สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน
มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จาเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทางานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
1 สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล และการนาเสนอผลงานในเนื้อหาของรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
2 จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จากกรณีศึกษา
3 ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ได้
1 การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค
2 พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษาการสื่อสาร ของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร
 
ปลูกฝังความมีระเบียบวินัยและความรับผิดชอบ
1 การบันทึกการเข้าชั้นเรียนอย่างสม่ำเสมอ ตรงเวลา และมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน 
2 กำหนดให้ส่งงานที่มอบหมายตามกำหนดและตรงเวลา
1 ประเมินจากบันทึกการเข้าชั้นเรียนและการสังเกตการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน 
2 ประเมินจากผลการส่งงานที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรมจริยธรรม 2 ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา 2 ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กาหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 3 กำหนดงานเป็นกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นากลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมีส่วนร่วม และแสดงความคิดเห็น 1 จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ 2 ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง 3 การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ 1 จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบจากกรณีศึกษา 2 การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน 3 การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น 1 สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง 2 จัดให้นักศึกษาได้ทากิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นาและผู้ตาม 1 สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล และการนาเสนอผลงานในเนื้อหาของรายวิชาที่เกี่ยวข้อง 2 จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จากกรณีศึกษา 3 ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ได้ 1 การบันทึกการเข้าชั้นเรียนอย่างสม่ำเสมอ ตรงเวลา และมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน 2 กำหนดให้ส่งงานที่มอบหมายตามกำหนดและตรงเวลา
1 BOAEC117 การเขียนความเรียง
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ทักษะด้านความรู้และทักษะด้านปัญญา Unit 1 - 8 สอบกลางภาค 9 20%
2 ทักษะด้านความรู้และทักษะด้านปัญญา Unit 9 - 12 สอบปลายภาค 17 20%
3 ทักษะทางปัญญา ทักษะการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี งานที่มอบหมาย Writing Tasks 1 - 10 4-7, 10-16 40%
4 คุณธรรม จริยธรรม ความมีวินัยและความรับผิดชอบ การทำแบบฝึกหัดและการเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
5 จิตพิสัย ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและสม่ำเสมอ การมีส่วนร่วมกับกิจกรรมในชั้นเรียน การแต่งกายถูกระเบียบ ตลอดภาคการศึกษา 10%
Zemach, D. & Rumisek, L. (2010). Academic Writing from Paragraph to Essay. McMillan.
เว็บไซด์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสืบค้นข้อมูลในการเขียน
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทาเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2.1 การสังเกตการณ์สอนของหัวหน้าสาขาวิชา
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ