การสื่อสารดิจิทัล

Digital Communication

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในเทคนิคเบื้องต้นและการวิเคราะห์ในระบบสื่อสารดิจิตอลในระดับ  physical layer โดยมุ่งเน้นเทคนิคต่าง ๆ ได้แก่ การมอดูเลต การดีมอดูเลต การดีเท็กสัญญาณ รหัสแก้ไขความผิดพลาดและการผนวกรวมกัน นอกจากนี้นำเสนอมาตรฐานของระบบสื่อสารดิจิตอลที่พบในปัจจุบันของวงจรดิจิทัล
เพื่อให้เนื้อหารายวิชามีความทันสมัยสอดคล้องกับเทคโนโลยีการสื่อสารดิจิตอลในปัจจุบัน รวมทั้งครอบคลุมเนื้อหาพื้นฐานที่สำคัญของการสื่อสารดิจิตอล
ศึกษาเกี่ยวกับหลักการระบบสื่อสารแบบดิจิทัล  ความน่าจะเป็นและกระบวนการสุ่ม  สเปสซิกเนล  ทฤษฎีการสุ่มตัวอย่างค่าสัญญาณและการลดค่า Nyquist bandwidth  การ ตรวจจับสัญญาณ  สัญญาณรบกวนไวต์เกาส์เซียนแบบบวก (Additive White Gaussian Noise: AWGN)  เทคนิคการมอดูเลตสัญญาณดิจิทัล  sigma-delta  การวิเคราะห์ ประสิทธิภาพ  การซิงโครไนซ์  การเพิ่มหรือลดความดังของสัญญาณ (Equalization)  กล่าวนําเกี่ยวกับทฤษฎีของข้อมูล  การเข้ารหัสต้นทาง  การเข้ารหัสช่องสัญญาณ  ระบบ หลายช่องทางและหลายพาหะ  เทคนิคการการแผ่สเปกตรัม (Spread Spectrum Techniques)  การจางหายของสัญญาณจากการแพร่หลายเส้นทาง ( Multi-Path Fading Channels)  การส่งและรับสัญญาณในระบบสื่อสารดิจิทัล  การตรวจจับสัญญาณ  การตรวจรหัสที่ผิดในระหว่างการส่งสัญญาณและวิธีการแก้ไข  การวิเคราะห์สมรรถนะ Study of Review of probability and random process, signal space, minimum Nyquist bandwidth, signal detections, AWGN, digital modulation techniques, sigma-delta, performance analysis, synchronization, equalization, introduction of information theory, source coding, channel coding, multichannel and multicarrier systems, spread spectrum techniques, multipath fading channels.
 
- ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ (เฉพาะรายที่ต้องการ) - อาจารย์ประจำรายวิชา เปิดโอกาสให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นข่าวสารหรือข้อสงสัยทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ chokenad@hotmail.com หรือ line ID: chokemongkol
 
พัฒนานักศึกษาให้มีคุณธรรม จริยธรรมไปพร้อม ๆ กับวิทยาการต่าง ๆ ที่ศึกษา เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างราบรื่น และเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม สามารถพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม รวมทั้งอาจารย์ต้องมีคุณสมบัติด้านคุณธรรม จริยธรรมอย่างน้อยดังนี้ 1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม 1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  
1.2.1 สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม 1.2.2 สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม 1.2.3 เน้นความรับผิดชอบทั้งต่อตนเอง และสังคม ทั้งในบทบาทของการเป็นผู้นำกลุ่มและการ เป็นสมาชิกกลุ่ม 1.2.4 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด 1.2.5 เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง ตามระเบียบข้อบังคับของ มหาวิทยาลัย 1.2.6 ปฏิบัติตามกฎระเบียบ และข้อบังคับขององค์กรและสังคม 1.2.7 ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาชีพ
 
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม 1.3.2 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ 1.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 1.3.4 ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบ ของนักศึกษา 1.3.5 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม
 
นักศึกษาต้องมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎีที่สำคัญ และองค์ประกอบของ การปฏิบัติการวงจรดิจิทัลลอจิกเพื่อเป็นพื้นฐานนำไปใช้ในการออกแบบและสร้างวงจร รวมไปจนถึงเป็นความรู้พื้นฐานเพื่อนำไปใช้ในการเรียนในวิชาวงจรดิจิทัลลอจิก มีการเข้าใจในปัญหา วิเคราะห์ และสามารถอธิบายการแก้ไขปัญหาโดยสามารถเลือกทฤษฎีต่างๆ ที่ได้เรียนรู้มาแก้ไขปัญหาได้มีการติดตามวิชาการและเทคโนโลยีต่างๆรอบตัวเพื่อนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์และเชื่อมโยงกับแขนงความรู้ด้านอื่นๆได้ เพื่อให้เห็นภาพรวมและแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็นระบบ
 
มีการบรรยายทางด้านทฤษฎีต่างๆ การยกตัวอย่างปัญหาประกอบการเรียนการสอน การวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาอย่างมีระบบ มีการปฏิบัติจริงในห้องปฏิบัติการ นำปัญหาต่างๆ มาอภิปรายโต้ตอบระหว่างอาจารย์และนักศึกษา และการวิเคราะห์แก้ไขโจทย์ปัญหาด้วยการจำลองการทำงานและต่อวงจรจริง
2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดความเข้าใจหลักการ การคำนวณเพื่อการวิเคราะห์ 2.3.2 ประเมินจากการรายงาน การทำโครงงาน และการนำเสนอรายงาน 2.3.3 การทดสอบปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ 2.3.4 การทำแบบฝึกหัดเพิ่มเติมนอกเหนือจากบทเรียน
 
ที่ต้องพัฒนาพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิด วิเคราะห์ และบูรณาการองค์ความรู้ได้เป็นอย่างดี
3.2.1 การมอบหมายงาน/การบ้านที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์ 3.2.2 การมอบหมายงานให้ศึกษา ค้นคว้า ทำโครงงาน และรายงานทางเอกสาร 3.2.3 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
 
3.3.1 สอบย่อย สอบกลางภาคและสอบปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการเข้าใจหลักการ และการแยกแยะเชิงความคิดวิเคราะห์ บูรณาการองค์ความรู้ในเนื้อหาของรายวิชาปฏิบัติการวงจรดิจิทัลลอจิก 3.3.2 ประเมินผลจากการทำงาน/การบ้าน 3.3.3 วัดผลจากการประเมินจากรายงาน การทำโครงงาน และการนำเสนอผลงาน 3.3.4 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
 
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 4.1.2 พัฒนาการให้ความร่วมมือในการทำงานทั้งความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม 4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตาม กำหนดเวลา
 
4.2.1 มีการจัดกิจกรรมร่วมกันเป็นกลุ่มโดยเน้นการประยุกต์ความรู้ในรายวิชาเพื่อวิเคราะห์ กรณีศึกษาเกี่ยวกับเนื้อหาต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเขียนโปรแกรม โดยมีการมอบหมายงานเป็นกลุ่มเพื่อให้นักศึกษาได้ทำการทำงานร่วมกัน แสดงความรับผิดชอบการทำงานเป็นกลุ่ม โดยให้มีการอภิปรายกันในกลุ่มเพื่อให้เกิดความเป็นผู้ริเริ่มและการแก้ไขสถานการณ์ การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารได้อย่างเหมาะสมและถูกต้อง อีกทั้งมีการแทรกประสบการณ์ของอาจารย์ในระหว่างสอนโดยผ่านการเล่าเรื่อง ต่างๆ โดยเน้นเรื่องความรับผิดชอบ การแสดงความเห็น การนำความรู้ไปใช้ และผลของการสื่อสาร 4.2.2 การนำเสนอรายงาน
 
4.3.1 ผลจากการประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด 4.3.2 ผลจากการประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 4.3.3 ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
 
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข 5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในด้านการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน และนำเสนอในชั้นเรียน 5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ผลของตัวอย่างวงจรที่กำหนดให้ 5.1.4 พัฒนาทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการเรียนรู้ สืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต อย่างเป็นระบบ 5.1.5 พัฒนาทักษะในการแสวงหาความรู้ ข้อมูลสารสนเทศในการพัฒนาตนเองผู้เรียน และการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม 5.1.6 พัฒนาทักษะในการนำเสนอรายงานโดยสามารถเลือกรูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม 5.1.7 พัฒนาทักษะในการใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม เพื่อประกอบ วิชาชีพที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษาได้
 
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งข้อมูลต่างๆ 5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
 
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยีที่เหมาะสม 5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมนำเสนอผลงาน
 
6.1.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพ
6.1.2 มีทักษะในการปฏิบัติงานกลุ่ม มีการแบ่งหน้าที่รับผิดชอบ และมีความร่วมมือกันเป็นอย่างดี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3.ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านความสัมพันธ์บุคคล และความรับผิดชอบ 5.ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 2 1
1 ENGEE203 การสื่อสารดิจิทัล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ นักศึกษาต้องมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎีที่สำคัญ และองค์ประกอบของ การปฏิบัติการวงจรดิจิทัลลอจิกเพื่อเป็นพื้นฐานนำไปใช้ในการออกแบบและสร้างวงจร รวมไปจนถึงเป็นความรู้พื้นฐานเพื่อนำไปใช้ในการเรียนในวิชาวงจรดิจิทัลลอจิก มีการเข้าใจในปัญหา วิเคราะห์ และสามารถอธิบายการแก้ไขปัญหาโดยสามารถเลือกทฤษฎีต่างๆ ที่ได้เรียนรู้มาแก้ไขปัญหาได้มีการติดตามวิชาการและเทคโนโลยีต่างๆรอบตัวเพื่อนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์และเชื่อมโยงกับแขนงความรู้ด้านอื่นๆได้ เพื่อให้เห็นภาพรวมและแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็นระบบ 2.3 วิธีการประเมินผล 2.3.1 ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดความเข้าใจหลักการ การคำนวณเพื่อการวิเคราะห์ 2.3.2 ประเมินจากการรายงาน การทำโครงงาน และการนำเสนอรายงาน 2.3.3 การทดสอบปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ 2.3.4 การทำแบบฝึกหัดเพิ่มเติมนอกเหนือจากบทเรียน 3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนาพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิด วิเคราะห์ และบูรณาการองค์ความรู้ได้เป็นอย่างดี 5.2 วิธีการสอน 5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งข้อมูลต่างๆ 5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอบกลางภาค นำเสนอผลงาน สอบปลายภาค 9, 15-16, 17 25%, 20% ,25%
2 1.3 วิธีการประเมินผล 1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม 1.3.2 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ 1.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 1.3.4 ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบ ของนักศึกษา 1.3.5 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 2.1 ความรู้ ที่ต้องได้รับ นักศึกษาต้องมีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎีที่สำคัญ และองค์ประกอบของ การปฏิบัติการวงจรดิจิทัลลอจิกเพื่อเป็นพื้นฐานนำไปใช้ในการออกแบบและสร้างวงจร รวมไปจนถึงเป็นความรู้พื้นฐานเพื่อนำไปใช้ในการเรียนในวิชาวงจรดิจิทัลลอจิก มีการเข้าใจในปัญหา วิเคราะห์ และสามารถอธิบายการแก้ไขปัญหาโดยสามารถเลือกทฤษฎีต่างๆ ที่ได้เรียนรู้มาแก้ไขปัญหาได้มีการติดตามวิชาการและเทคโนโลยีต่างๆรอบตัวเพื่อนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์และเชื่อมโยงกับแขนงความรู้ด้านอื่นๆได้ เพื่อให้เห็นภาพรวมและแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็นระบบ 3.1 ทักษะทางปัญญา ที่ต้องพัฒนาพัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ สามารถคิด วิเคราะห์ และบูรณาการองค์ความรู้ได้เป็นอย่างดี 5.2 วิธีการสอน 5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งข้อมูลต่างๆ 5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม การส่งการบ้านตามที่มอบหมาย การส่งงาน ตามที่มอบหมาย ตลอดภาค การศึกษา 20%
3 1.3 วิธีการประเมินผล 1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม 1.3.2 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ 1.3.3 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 1.3.4 ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบ ของนักศึกษา 1.3.5 มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นำมาทำรายงาน อย่างถูกต้องและเหมาะสม 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน 4.1.2 พัฒนาการให้ความร่วมมือในการทำงานทั้งความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม 4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตาม กำหนดเวลา การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1. การสื่อสารดิจิตัล โดย รศ.ดร.พรชัย ทรัพย์นิธิ 2. เทคโนโลยีการสื่อสารดิจิตัล โดย รศ.สุวิพล สิทธิชีวภาค 3. การสื่อสารดิจิทัล กับการประยุกต์ใช้โปรแกรม SCILAB. รศ.ดร.ปิยะ โควินทร์ทวีวัฒน์
 
1. Power point ประกอบการสอน 2. ชีทด์ประกอบการสอน
 
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา ค้นหาได้จาก Key word in Google search : Digital Communication
 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาได้ดังนี้ 1.1 แบบประเมินผู้สอนผ่านเวปไซต์ของสำนักทะเบียน
 
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้สอน 2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
 
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยหาข้อมูลเพิ่มเติมในการ ปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 4.2 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการ สอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงเทคนิควิธีการสอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้ด้วยวิธีการต่าง ๆ 5.2 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4