การภาษีอากร 2

Taxation 2

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้เกี่ยวกับแนวคิดและความแตกต่างระหว่างเกณฑ์การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายตามหลักการบัญชี และการภาษีอากร การจัดทำกระดาษทำการ เพื่อคำนวณภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฏากร การปรับปรุงกำไรทางบัญชีเป็นกำไรทางภาษีอากร การจัดทำรายงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับภาษีสรรพากร และการยื่นแบบแสดงรายงานภาษีสรรพากร เพื่อประโยชน์ในการเสียภาษีให้ครบถ้วนถูกต้อง รวมทั้งภาษีเงินได้รอตัดบัญชี และให้มีความรู้เรื่องการวางแผนภาษี
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจถึงความแตกต่างระหว่างเกณฑ์การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายตามหลักการบัญชี และการภาษีอากร การจัดทำกระดาษทำการ เพื่อคำนวณภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฏากร การปรับปรุงกำไรทางบัญชีเป็นกำไรทางภาษีอากร การจัดทำรายงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับภาษีสรรพากร และการยื่นแบบแสดงรายงานภาษีสรรพากร เพื่อประโยชน์ในการเสียภาษีให้ครบถ้วนถูกต้อง จริยธรรมของวิชาชีพ รวมทั้งศึกษาภาษีเงินได้รอตัดบัญชี และความรู้พื้นฐานการวางแผนภาษี
ศึกษาแนวคิดและความแตกต่างระหว่างเกณฑ์การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายตามหลักการบัญชี และการภาษีอากร การจัดทำกระดาษทำการ เพื่อคำนวณภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฏากร การปรับปรุงกำไรทางบัญชีเป็นกำไรทางภาษีอากร การจัดทำรายงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับภาษีสรรพากร และการยื่นแบบแสดงรายงานภาษีสรรพากร เพื่อประโยชน์ในการเสียภาษีให้ครบถ้วนถูกต้อง รวมทั้งศึกษาภาษีเงินได้รอตัดบัญชี และความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับภาษีระหว่างประเทศ การวางแผนภาษี และจริยธรรมของวิชาชีพ
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา บอกช่วงเวลาให้คำปรึกษาในชั่วโมงแรก
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
     (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม และซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม

1.1.3 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างกรณีศึกษา โจทย์พิเศษ

1.2.2 ทำแบบฝึกหัดจากข้อมูลจริง
นำข้อมูลที่เกิดขึ้นจริงในชีวิตประจำวันมาบรรยายและสอดแทรกเป็นตัวอย่าง
1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
1.3.2   ประเมินผลการวิเคราะห์กรณีศึกษา
1.3.3   สอบกลางภาค
ความแตกต่างระหว่างเกณฑ์การรับรู้รายได้และค่าใช้จ่ายตามหลักการบัญชี และการภาษีอากร การจัดทำกระดาษทำการ เพื่อคำนวณภาษีเงินได้ตามประมวลรัษฏากร การปรับปรุงกำไรทางบัญชีเป็นกำไรทางภาษีอากร การจัดทำรายงานต่างๆที่เกี่ยวข้องกับภาษีสรรพากร และการยื่นแบบแสดงรายงานภาษีสรรพากร เพื่อประโยชน์ในการเสียภาษีให้ครบถ้วนถูกต้อง จริยธรรมของวิชาชีพ รวมทั้งศึกษาภาษีเงินได้รอตัดบัญชี และความรู้พื้นฐานการวางแผนภาษี
บรรยาย  อภิปราย การทำงานกลุ่ม  การนำเสนอรายงาน ค้นคว้าทาง Internet เกี่ยวกับเนื้อหาที่เกี่ยวข้อง โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
2.3.1  สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.3.2   ประเมินจากการนำเสนอผลการค้นคว้าข้อมูล  กรณีศึกษา หรือโจทย์พิเศษ
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบแบบแผน มีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประยุกต์ระหว่างวิชาการภาษีอากรเข้ากับหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป และการวางแผนอย่างถูกต้องตามหลักการของประมวลรัษฎากร
3.2.1   การมอบให้นักศึกษาวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาในชั้นเรียน และการถามตอบ
3.2.2   อภิปรายกลุ่ม
3.2.3   ทำโจทย์พิเศษ
3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการกรณีศึกษา
3.3.1   สอบกลางภาคและปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการประยุกต์ระหว่างหลักการการภาษีอากรและหลักบัญชีที่รับรองทั่วไป
3.3.2   วัดผลจากการนำเสนอผลงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมจากการสะท้อนแนวคิด
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2   พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3  พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.1.4   พัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษากับชุมชนที่มหาวิทยาลัยตั้งอยู่
4.2.1   จัดการเรียนการสอนแบบ PjBL (Project base learning)
4.2.2   การนำเสนอรายงาน
4.3.1 ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2 ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3 ประเมินจากรูปเล่มรายงาน
4.3.4    ประเมินจากประโยชน์ที่ชุมชนได้รับ
5.1.1   ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2   พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.3   พัฒนาทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อจัดทำรายงานแสดงการเสียภาษี และการใช้ประโยชน์จากเวปไซด์กรมสรรพากร
5.2.1   มอบหมายกรณีตัวอย่างซึ่งเน้นการคำนวณจากตัวเลข
5.2.2   นำข้อมูลที่ได้มาจากการคำนวณกรอกลงในระบบของกรมสรรพากรเพื่อจัดทำแบบแสดงรายการเสียภาษีจากจากเวปไซด์กรมสรรพากร
5.3.1   สอบกลางภาค สอบปลายภาค
5.3.2   แบบฝึดหัดในห้องเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะในการิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 1.2 1.3 1.4 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 3.3 4.1 4.2 4.3 4.4 5.1 5.2 5.3
1 BACAC136 การภาษีอากร 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 18 30% 30%
2 ด้านความรู้ - - -
3 ด้านทักษะทางปัญญา การเข้าชั้นเรียน ส่งการบ้าน การมีส่วนร่วมตอบคำถามในชั้นเรียน เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 20%
4 ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ กิจกรรมบูรณาการวิชาการภาษีอากร 2 ตลอดภาคการศึกษา 20%
5 ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี - - -
หนังสือการบัญชีภาษีอากร ผศ.ระริน เครือวรพันธุ์
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
เว็บไซต์  www.rd.go.th
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ