เทคนิคการสร้างสรรค์ลวดลายบนสิ่งทอ

Technique for Creative Textiles Surface

1.1 มีทักษะเกี่ยวกับการออกแบบและสร้างสรรค์ลวดลายบนสิ่งทอ
1.2 มีทักษะเกี่ยวกับเทคนิคและรูปแบบของการทำลวดลายบนวัสดุสิ่งทอ
1.3 มีทักษะในการผลิตลวดลายลงบนวัสดุสิ่งทอประเภทต่างๆ
เพื่อให้นักศึกษาสามารถปฏิบัติเกี่ยวกับการออกแบบและสร้างสรรค์ลวดลายบนสิ่งทอด้วยกรรมวิธีต่างๆ เทคนิคและรูปแบบของการทำลวดลายบนวัสดุสิ่งทอ และผลิตลวดลายลงบนวัสดุสิ่งทอประเภทต่างๆ
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการออกแบบและการสร้างสรรค์ลวดลายบนสิ่งทอด้วยกรรมวิธีต่างๆ เทคนิคและรูปแบบการทำลวดลายบนวัสดุสิ่งทอ กระบวนการผลิตลวดลายลงบนวัสดุสิ่งทอประเภทต่างๆ
- อาจารย์ผู้สอนประกาศช่วงเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
- อาจารย์ผู้สอนจัดเวลาให้คำปรึกษาอย่างน้อย 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ขยัน อดทน และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
สังเกตุพฤติกรรมขณะปฏิบัติงาน ทางด้านความตั้งใจ ความพากเพียร ความรับผิดชอบ ความเป็นระเบียบเรียบร้อยในพื้นที่ปฏิบัตงานส่วนตัวและส่วนรวม
บันทึกการสังเกตพฤกติกรรมลงในแบบบันทึก
2.1.2 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
2.1.2 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
2.2.1 แนะนำแหล่งสืบค้นข้อมูลทางศิลปกรรม ภูมิปัญญา เพื่อให้นักศึกษามาประยุกต์ในการสร้างสรรค์ลวดลายบนสิ่งทอ
2.2.2 มอบหมายงาน
จากผลงานที่มอบหมาย
3.1.1 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.2 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
3.2.1 ยกตัวอย่างผลงานการออกแบบและสร้างสรรค์ลวดลายบนสิ่งทอด้วยกรรมวิธีต่างๆ เทคนิค รูปแบบของการทำลวดลายบนวัสดุสิ่งทอและกระบวนการผลิตลวดลาย
3.2.3 สาธิต
3.2.4 มอบหมายงาน
3.3.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค จากผลงานที่มอบหมาย
4.1.1 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.2.1 มอบหมายงานกลุ่มในการสร้างสรรค์ลวดลายให้เหมาะสมกับการใช้สอยกับงานแต่ละประเภทและความต้องการทางธุรกิจ
4.3.1 จากการสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม
4.3.2 จากผลงานที่มอบหมาย
5.1.1 สามารถเลือกใช้เทคโนโนยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1 แนะนำวิธีการสืบค้นข้อมูลในระบบ Internet และมอบหมายงานให้สืบค้นจากสื่ออื่นๆ
5.3.1 จากผลงานที่มอบหมาย และการนำเสนอผลงาน
6.1.1 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
6.2.1 แนะนำวิธีการสร้างสรรค์ลวดลายบนสิ่งทอ
6.3.1 จากผลงานที่มอบหมาย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรมจริยธรรม ความรู้ ทักษะทางปัญญา ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BAATJ125 เทคนิคการสร้างสรรค์ลวดลายบนสิ่งทอ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม การสังเกตพฤกติกรรมลงในแบบบันทึก ตลอดภาคการศึกษา 10
2 - รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง - มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบทของสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม - มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน การปฏิบัติงานและผลงาน 1-8 และ 10-16 60
3 การสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียน ในการสื่อสารโดยทั่วไป ตอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ การนำเสนอผลงาน 15 และ 16 5
4 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ การทำงานกลุ่ม 2 และ 16 5
5 - สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ - มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 และ 17 20
1. กฤตย์ เวียงอำพล. การออกแบบเขียนแบบ. กรุงเทพฯ : โอ. เอส. พริ้นติ้งเฮ้าส์. 2540.
2. เครือจิต ศรีบุญนาค.สุนทรียภาพของชีวิต.กรุงเทพฯ :เธิร์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น. 2542.

. สุชาติ เถาทอง.ศิลปะกับมนุษย์.กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2532. . นพวรรณ หมั้นทรัพย์.การออกแบบเบื้องต้น.เชียงใหม่ : โชตนาพริ้นท์.2521. . นวลน้อย บุญวงษ์.หลักการออกแบบ.กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.2539. . มนตรี ยอดบางเตย.ออกแบบผลิตภัณฑ์.กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์. 2538. . วิบูลย์ ลี้สุวรรณ.ศิลปะกับชีวิต.กรุงเทพฯ :คอมแพคท์พริ้นท์. 2537. . อารี รังสินันท์.ความคิดสร้างสรรค์.กรุงเทพฯ : ธนะการพิมพ์.2527.

9. บุญเยี่ยม แย้มเมือง. สุนทรียะทางทัศนศิลป์. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์. 2537.
10. จีรพันธ์ สมประสงค์. ประวัติศิลปะ. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์. 2533.
11. ดุษฎี สุนทราชุน. การออกแบบลายพิมพ์ผ้า. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2531.
12. พีนาลิน สาริยา. การออกแบบลวดลาย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2549.
13. อัจฉราพร ไศละสูต. การออกแบบลวดลายผ้าและเทคนิคการพิมพ์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ :สหประชาพาณิช. 2524.
14. มนตรี เลากิตติศักดิ์. เอกสารงานวิจัยลวดลายและลวดลายผ้าล้านนาเพื่อพัฒนาการใช้อัตลักษณ์ในการออกแบบลวดลายผ้า.เชียงใหม่ :โครงการวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา, 2555.
15. Cheryl Rezendes. Fabric Surface Design. United States : Quad/Graphics. 2013.
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในการทำโครงการ
www.surfacedesign.org
www.fitnyc.edu/textile-surface-design/
www.thinkcreativo.com
https://th-th.facebook.com/ncadtextilesurfacedesign2015/
การปะเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาดังนี้

การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหดของมหาวิทยาลัย
2.1 ผลงานของนักศึกษา
2.2 การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทดสอบผลการเรียนรู้
3.1 ทบทวนเนื้อหาและวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเกณฑ์กำหนด
3.2 หาแนวทางและวิธีการสอนที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบั
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
4.2 การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปีตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 การประชุมกรรมการประจำหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา