การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช

Plant Tissue Culture

1.1. รู้ถึงประโยชน์ของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
1.2. เข้าใจการเตรียมห้องและเครื่องมือในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
1.3. เข้าใจการเตรียมอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
1.4. เข้าใจการเลือกชิ้นส่วนและการแยกเนื้อเยื่อพืช
1.5. เข้าใจเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
1.6. เข้าใจขั้นตอนการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเนื้อเยื่อพืช
1.7. เข้าใจวิธีการนำต้นอ่อนออกปลูกและธุรกิจการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชกับการพัฒนาทางการเกษตร
ปรับปรุงเนื้อหาเกี่ยวกับรายวิชาโดยเพิ่มเติมงานวิจัยใหม่
 
 
ศึกษาและฝึกปฏิบัติถึงความสำคัญและประโยชน์ของการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเตรียมห้องปฏิบัติการ เครื่องมือและวัสดุอุปกรณ์ทที่จำเป็น เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช การเจริญเติบโตและการพัฒนาของเนื้อเยื่อพืช การปรับสภาพและการย้ายปลูกต้นกล้า การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชกับการพัฒนาการผลิตพืช การเตรียมต้นกล้าและการย้ายปลูก ธุรกิจการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชกับการพัฒนาทางการเกษตรเพื่อการค้า
Study and practice of important and beneficial of plant tissue culture, laboratory room, instruments, and essential materials preparation, tecniqes and method in plant tissue culture, the growth and development of plant tissue, pretreatment and transfer of seedlings, plant tissue culture with the development of crop production, preparation of seedling and transplanting, plant tissue culture business and agricultural trade development.
 
 
 
 
3 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
š1.1. มีคุณธรรมและจริยธรรม หมายถึง ศรัทธาในความดี มีหลักคิดและแนวปฏิบัติในทางส่งเสริมความดีและคุณค่าความเป็นมนุษย์ มีความรับผิดชอบ มีศิลธรรม ซื่อสัตย์สุจริตและสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมอย่างสันติ
˜1.2.มีจรรยาบรรณ หมายถึง มีระเบียบวินัยและเคารพกฎกติกาของสังคม ประพฤติปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
1.1. การสอนฝึกปฏิบัติการ
1.2. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
1.3. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning)
1.4. การสอนแบบ Problem Based Learning
1.5. การสอนแบบบรรยาย
1.6. การสอนแบบบรรยายเชิงอภิปราย
1.1.การสังเกต
1.2.การสัมภาษณ์
1.3.การฝึกตีความ
1.4.ข้อสอบอัตนัย
1.5.ข้อสอบปรนัย
˜2.1. มีความรู้ในสาขาวิชาชีพ หมายถึง มีความรู้ ความเข้าใจในสาขาวิชาชีพที่เรียนอย่างถ่องแท้และเป็นระบบทั้งหลักการ ทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ความรู้ที่ทันสมัยในสาขาที่เกี่ยวข้อง
š2.2 มีความรอบรู้ หมายถึงมีความรู้ในหลายสาขาวิชาและสามารถประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
 
 
 
2.1. การสอนแบบบรรยาย ใช้สื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย
2.2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) ทำงานเป็นกลุ่ม
2.3.การสอนฝึกปฏิบัติการ มอบหมาย และให้ทำรายงาน
 
 
 
2.1.การสังเกต
2.2.การสัมภาษณ์
2.3.การฝึกตีความ
2.4.ข้อสอบอัตนัย
2.5.ข้อสอบปรนัย
š3.1 สามารถคิดวิเคราะห์งานอย่างเป็นระบบ หมายถึงมีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผลและคิดแบบองค์รวม
š3.2 สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ หมายถึง ความสามารถในการคิดริเริ่มสร้างสรรค์จากพื้นฐานของความรู้ที่เรียน นำมาพัฒนานวัตกรรมหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่
3.1. การสอนแบบบรรยาย ใช้สื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย
3.2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม (Participatory Learning) ทำงานเป็นกลุ่ม
3.3.การสอนฝึกปฏิบัติการ มอบหมาย และให้ทำรายงาน
 
3.1.การสังเกต
3.2.การสัมภาษณ์
3.3.การฝึกตีความ
3.4.ข้อสอบอัตนัย
3.5.ข้อสอบปรนัย
˜4.2 มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะหมายถึง มีจิตสำนึกห่วงใยต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และสาธารณสมบัติ มีจิตอาสา ไม่ดูดาย มุ่งทำประโยชน์ให้สังคม
มอบหมายงานกลุ่ม และจัดให้มีการวิเคราะห์ตนเองเมื่อกลุ่มเกิดปัญหาในการทำงาน และให้มีการเปิดใจและสามารถวิจารณ์คนอื่นได้ นำข้อผิดพลาดมาใช้ในการแก้ปัญหา
ใช้ Power point
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้น การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
การสังเกตพฤติกรรม
˜5.1 มีทักษะการสื่อสาร หมายถึง ความสามารถในการใช้ภาษาไทย ทั้งการฟัง พูด อ่านและเขียนเพื่อการสื่อสารในเหมาะกับสถานการณ์และการใช้ภาษาอังกฤษในการอ่าน พูด ฟังและเขียน
š5.2.มีทักษะทางเทคโนโลยีสารสนเทศ หมายถึง การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการสื่อสารและค้นคว้าข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
 
 
ใช้ Power point
มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การแนะนำเทคนิคการสืบค้น การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
 
 
 
 
5.1.ข้อสอบอัตนัย
5.2.ข้อสอบปรนัย
 
 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1 คุณธรรมจริยธรรม 2ความรู้ 3 ทักษะทางปัญญา 4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6 ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 1 2 1 2 3 1 2 1 2 1
1 BSCAG132 การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.คุณธรรมจริยธรรม การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-15 30
2 ความรู้ ทักษะทางปัญญา สอบกลางภาค 9 25
3 . ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 1-15 10
4 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ การนำเสนองาน/การรายงาน 16 10
5 ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ สอบปลายภาค 17 25
อภิชาติ ชิดบุรี เอกสารประกอบการสอนการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
1. คำนูญ กาญจนภูมิ. 2542. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. 162 หน้า     2. คำนูญ กาญจนภูมิ. 2545. เทคโนโลยีโพรโทพลาสต์ของพืช. สำนักพิมพ์แห่งจุฬา- ลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ. 116 หน้า     3. ชลิต พงศ์ภุสมิทธ์. 2532. เทคโนโลยีการผลิตเนื้อเยื่อพืช. คณะผลิตกรรมการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้, เชียงใหม่. 146 หน้า     4. นพพร สายัมพล. 2543. เทคนิคการปรับปรุงพันธุ์พืช. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 261 หน้า     5. บุญยืม กิจวิธารณ์. 2540. เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น. 165 หน้า     6. ประศาสตร์ เกื้อมณี. 2536. เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. โอเดียนสโตร์, กรุงเทพฯ. 158 หน้า.     7. ประสาทพร สมิตะมาน. 2541. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ : เทคนิคและการประยุกต์ใช้. สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 141 หน้า.     8. ประสาทพร สมิตะมาน. 2541. โปรโตพลาสต์เทคโนโลยี. สาขาเทคโนโลยีชีวภาพ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 196 หน้า.     9. ไพบูลย์ กวินเลิศวัฒนา. 2524. หลักการและวิธีการเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. ภาควิชา พืชสวน คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. กรุงเทพมหานคร. 109 น.     10. ภูวดล บุตรรัตน์. 2532. โครงสร้างภายในของพืช. ไทยวัฒนาพานิช, กรุงเทพฯ. 55 หน้า. 11. รังสฤษฏ์ กาวีต๊ะ. 2540. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช : และเทคนิค. ภาควิชา พืชไร่นา คณะเกษตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน. นครปฐม. 319 หน้า.     12. รังสฤษดิ์ กาวีต๊ะ. 2540. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช : หลักการและเทคนิค. ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 219 หน้า.     13. สมปอง เตชะโต. 2536. บทปฎิบัติการเทคโนโลยีชีวภาพของพืชปลูก. ภาควิชพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สงขลา. 121 น.     14. สมปอง เตชะโต. 2539. เทคโนโลยีชีวภาพของพืชปลูก. ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่, สงขลา. 285 หน้า.     15. จันทร์เปรม. 2531. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกับงานปรับปรุงพันธุ์พืช. หน้า 42 – 51. ใน เอกสารประกอบการฝึกอบรมทางวิชาการหลักสูตรเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชขั้นพื้นฐาน. ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูก พืชทดลอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม.     16. สิรนุช สามศรีจันทร์. 2540. การกลายพันธุ์ของพืช. ภาควิชารังสีประยุกต์และไอโซโทป.คณะวิทยาศาสตร์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์     17. อภิชาติ ชิดบุรี. 2544. ประโยชน์และการประยุกต์ใช้เพื่อการขยายพันธุ์. หน้า D1-D13. ใน เอกสารประกอบการฝึกอบรมเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชเบื้องต้น. สถาบันวิจัยและฝึกอบรมการเกษตรลำปาง, สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.     18. อรดี สหวัชรนทร์. 2531. เทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. หน้า 1 – 24. ใน เอกสารประกอบการฝึกอบรมทางวิชาการหลักสูตรเทคนิคการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ พืชขั้นพื้นฐาน. ศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน, นครปฐม.     19. อรดี สหวัชรินทร์. 2539. หลักการการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 73 หน้า. 20. อรดี สหวัชรินทร์. 2542. เทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช. ภาควิชาพืชสวน คณะเกษตรมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์     21. อารีย์ วรัญญูวัฒก์. 2541. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อเพื่อการปรับปรุงพันธุ์พืช. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี. นครราชสีมา.     22. เอื้อพร ไชยวรรณ. การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชสมุนไพร เล่มที่ 1. ภาควิชาเภสัชเวท คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่. 234 หน้า     23. Bornma, C.H. 1974. Cytodifferentiation in tissue culture Department of botany And plant tissue culture research, University of Natal, South Afriea. 337 pp.     24. Dixon, R.A. 1987. Plant cell culture a practical approach. IRL Press Limited. Oxford. 237 pp.     25. Gamborg O.L.1970. In:Bhojwani S.S. and M.K. Razdan. 1983. Plant Tissue Culture :Theory and Practice. Elsevier Science Publishers B.V. Netherland. 502 pp.     26. Gamberg, O.L. and L.R. Wetter. 1975. Plant tissue culture method. Ottawa. Ontario, Canada. 267 pp.     27. Heller, R., S.S. Bhojwani and M.K. Razdan. 1983. Plant Tissue Culture : Theory and Practice. Elsevier Science Publishers B.V. Netherland. 502 pp.     28. Murashige, T. 1974. Plant propagation through tissue culture. Ann.Rev. Plant Physiol. 25 : 135 – 166.     29. Murashige T.and Skoog F.1962. In:Bhojwani S.S. and M.K. Razdan. 1983. Plant Tissue Culture :Theory and Practice. Elsevier Science Publishers B.V. Netherland. 502 pp.     30 Murashige, T. and F. Skoog, 1962. Arevised medium for rapid growth and bioassays With tobacco tissue cultures. Physiol Plant. 15 473-479. 31. Nagao, T. 1979. Somatic hybridization by fusion of protoplasts. II. The combination of Nicotiana tabacum and N.glutinosa of N. tabacum and N. alata. Jap.J.Crop Sci. 48 : 385 – 392.     32. Nitsch J. P.and C. Nitsch .1956. In: Street H.E. 1977. Plant Tissue and Cell Culture 1977. Blackwell Scientific Publications Oxford London England. 614 pp.     33. Pierik, R. L. M.. 1987. In vitro culture of higher plants. Martinus Nijhoff Publishers, Dordrecht. 344 pp.     34. Reinert, J. and Y.P.S. Bajaj. 1977. Plant Cell Tissue and Organ Culture. Springer - Verlage, Berling. 803 pp.     35. F. and C.O. Miller. 1957. Chemical regulation of growth and crgan farmation In plant tissue cultured in vitro Sym. Soc. Exp. Biol. 11 : 118-131.     36. Szweykowska. A. 1974. The role of cytokinins in the control of cell growth and differentiation In culture. In street, H.E. Tissue culture and plant science. London : Academic press. 502 pp.     37. Torrey, J.G. 1967. Marphogemesis in relation to chromosomal constitution long-term plant tissues. Physiol Plant 20 : 265-275.     38. P.R.1963. In : Bhojwani S.S. and M.K. Razdan. 1983. Plant Tissue and Cell Culture. Elsevier Science Publishers B.V. Netherland. 502 pp.     39. White, P.R. 1943. Further evidence on the significance of glycine, pyridoxine and nicotinic Acid in the nutrition of excised tomato shoots. Amer.J.Bot 30 : 33-36.
Google: plant tissue culture, การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
สรุปบทเรียนของนักศึกษา ประเมินอาจารย์โดยนักศึกษา ประเมินความพึงพอใจของผู้เรียน 
 
ประเมินผลการเรียนของนักศึกษา ประเมินจากอาจารย์ผู้จัดกระบวนการเรียนรู้ร่วม 
 
ปรับปรุงแก้ไขแผนการสอน เอกสารประกอบหรือคู่มือ
ทวนสอบผลการเรียนของนักศึกษา
ปรับปรุงรายวิชาทุกภาคการศึกษา