เทคนิคการตกแต่งเซรามิก

Ceramics Decoration Technique

ออกแบบลวดลายและตกแต่งผลิตภัณฑ์เซรามิกขณะเตรียมดิน ขณะขึ้นรูป และหลังการขึ้นรูป การศึกษาผลงานที่มีชื่อเสียงเพื่อการอนุรักษ์ การออกแบบลวดลายเพื่อใช้ตกแต่งใต้เคลือบ การตกแต่งใต้เคลือบและการตกแต่งด้วยเคลือบด้วยเทคนิคและวิธีการต่างๆ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานด้านการตกแต่งเซรามิก เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจ หลักการและทักษะการตกแต่งเซรามิกขณะเตรียมดิน ขณะขึ้นรูป และหลังการขึ้นรูป บนผิวชิ้นงานที่ผ่านการเผาดิบ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การออกแบบเซรามิก และการทำโครงงานเซรามิก
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ การออกแบบลวดลายและวิธีการตกแต่งผลิตภัณฑ์เซรามิกขณะเตรียมดิน ขณะขึ้นรูป และหลังการขึ้นรูป การศึกษาผลงานที่มีชื่อเสียงเพื่อการอนุรักษ์ การออกแบบลวดลายเพื่อใช้ตกแต่งใต้เคลือบ การตกแต่งใต้เคลือบและการตกแต่งด้วยเคลือบด้วยเทคนิคและวิธีการต่างๆ
 -    อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.3 มีจิตอาสาจิตสำนึกสาธารณะ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม จริยธรรม และ จิตอาสา
พฤติกรรมการเข้าเรียน และการอยู่ร่วมกันในชั้นเรียน ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
               2.1.1  รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
               2.1.2  มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปีญหาและพัฒนาทางด้านเซรามิกอย่างเป็นระบบ
บรรยาย  ซักถาม  และมอบหมายให้ศึกษา สืบค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมารวบรวมสรุปส่งมอบงานภาคปฏิบัติงาน
2.3.1   ทดสอบย่อย กลางภาค ปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นภาคปฏิบัติ
2.3.2   ประเมินจากงานที่มอบหมายสืบค้นหาข้อมูล และงานภาคปฏิบัติงาน
3.1.1  สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน
3.1.2  สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
3.1.3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชการและวิชาชีพได้
3.1.4 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
3.2.1   บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
3.2.2   สาธิตการตกแต่งเซรามิก
3.2.3   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   สอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการตกแต่งเซรามิก
3.3.2   วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี
4.1.3   สามารถแสดงความคิfเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไป ตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
4.2.1   มอบหมายงานรายบุคคล
4.2.2   การนำเสนองาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากผลงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.2   สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากผลงาน และการนำเสนอด้วยหลักการและแนวทางการแก้ปัญหา
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
               6.1.1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ
               6.1.2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
               6.1.3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
5.2.1   มอบหมายงานให้ปฏิบัติด้วยตนเอง
5.2.2   มอบหมายงานให้ปฏิบัติและสร้างสรรค์ด้วยตนเอง
5.3.1   ประเมินจากผลงาน และการนำเสนอด้วยหลักการและแนวทางการแก้ปัญหา
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BTECE135 เทคนิคการตกแต่งเซรามิก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.คุณธรรม จริยธรรม ที่ต้องพัฒนา 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย สอบกลางภาค สอบปลายภาค การปฏิบัติงานและผลงาน จิตพิสัย สอบกลางภาค สัปดาห์ที่8 สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 17 การปฏิบัติงานและผลงาน ตลอดภาคเรียน จิตพิสัย ตลอดภาคเรียน สอบกลางภาค 15% สอบปลายภาค 15% การปฏิบัติงานและผลงาน 60% จิตพิสัย 10%
1.กฎษดา พิณศรี ปริวรรต ธรรมาปรีชากร และอุษา  ง้วนเพียรภาค.(2535). เครื่องถ้วยสุโขทัย. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งกรู๊พ.
2.กรมศิลปากร. (2533). แหล่งเตาล้านนา. กรุงเทพ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
3.ไกรศรี  นิมมานเหมินทร์. (2526)  เครื่องถ้วยสันกำแพง. เชียงใหม่: ศูนย์หนังสือเชียงใหม่.
4.โกมล  รักษ์วงศ์.(มปป.). วัตถุดิบที่ใช้ในเครื่องปั้นดินเผาและเนื้อดินปั้น. นนทบุรี : โรงเรียนมารดานุเคราะห์
5.จอนห์ ซี ชอว์. แปลโดย สมพร วาร์นาโด, เอมอร  ตูวิเชียร และอุษณีย์  ธงไชย. (มปป.)  เครื่องปั้นดินเผาไทย. (เอกสารวิชาการชุดเครื่องปั้นดินเผา ลำดับที่ 1). ศูนย์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
6.ดุษฎี  สุนทรารชุน. (2531). การออกแบบลายพิมพ์ผ้า. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
7.ประเสริฐ  ศีลรัตนา (2538). การออกแบบลวดลาย. กรุงเทพฯ :โอเดียนสโตร์
8.ปริวรรต ธรรมาปรีชากร และกฎษดา พิณศรี. (2533) เครื่องถ้วยในประเทศ. กรุงเทพฯ: แอคมี พริ้นติ้ง.
9.ปริวรรต ธรรมาปรีชากร และคณะ. (บรรณาธิการ) (2539) ศิลปะเครื่องถ้วยในประเทศไทย (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โอสถสภาเต็กเฮงหยู.
10.ปราสาท วงสกุล  ทองดุลย์  ธนะรัชต์  วิฑูรย์  ยะสวัสดิ์  สุจินต์  พิทักษ์  และดาวรุ่ง  พรสาธิต. (2538). สเปเชี่ยล : เบญจรงค์ไทย  เซรามิกส์. 1(2). 22-42
11.เปี่ยมสุข  เหรียญรุ่งเรือง. (มปป.)  ประวัติศาสตร์เครื่องปั้นดินเผา เล่ม 1 ยุคโบราณและตะวันออกไกล. (เอกสารคำสอนประกอบรายวิชาประวัติเครื่องเคลือบดินเผา) คณะมัณฑนะศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
12.ภุชชงค์ จันทวิช, ณัฏฐภัทร จันทวิช และสิงห์คม หงษ์จินตกุล. (บรรณาธิการ) (2542) เครื่องถ้วยเบญจรงค์และลายน้ำทอง (โครงการสืบสานมรดกวัฒนธรรมไทย). กรุงเทพฯ : มรดกไทย.
13.พจน์ เกื้อกูล. (2512) เครื่องถ้วยและเตาสันกำแพง กรุงเทพฯ : ศิลปากร.
14.ไพจิตร  อิ่งศิริวัฒน์. (2546). สีเซรามิก. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
15.วิรุณ  ตั้งเจริญ.(2537). ออกแบบ 2 มิติ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
16.เวนิช สุวรรณโมลี. (มมป.) เทคนิคตกแต่งเซรามิกซ์. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 365201 เทคนิคการตกแต่ง มหาวิทยาลัยศิลปากร.
17.ศุภกา  ปาลเปรม.(2537) .การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 7. “มุมนักทำเครื่องปั้นดินเผาสมัครเล่น” กรุงเทพ : อัมรินทร์พริ้นติ้ง. หน้า 124-133.
18. เศรษฐมันตร์  กาญจนกุล.(2543) .ลวดลายบาหลี. กรุงเทพฯ : เศรษฐศิลป.
19. สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ร่วมกับวิทยาลัยครูเชียงใหม่ และศูนย์วัฒนธรรมประจำจังหวัดต่างๆ ในภาคเหนือ. (2524). เชิดชูเกียรติ นายไกรศรี  นิมมานเหมินท์. กรุงเทพฯ: ไตรรงค์การพิมพ์.
20. สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ กรมศิลปากร. (2539). โบราณคดีวิเคราะห์2 : เครื่องถ้วยบุรีรัมย์และเครื่องถ้วยสุโขทัย. กรุงเทพฯ: ดอกเบี้ย.
21. สมศักดิ์ ธรรมาปรีชากร (มปป.) เครื่องถ้วยล้านนา  เครื่องถ้วยในเอเซียอาคเนย์ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 15-22. กรุงเทพฯ: โอสถสภาเต็กเฮงหยู.
22. Ayers, J. (1980). Far Eastern Ceramics in the Victoria and Albert Museum. (2nd. ed.). Japan:Sotheby Parke Bernet Pub.
23. Bellaire, Marc (1975). Brush Decoration for.(6th )  Ohio : Professional Publications, Inc.
24. Bismarck, Beatrice von. (1993). Impressionist art vol.II. Germany : Ingo F. Walther
25. Brick, Tony.(1996). The Complete Potter’s Companion. Hongkong :  Conran Octopus.
26.Brown, M. Roxanna (1988). The Ceramics of South-East Asia Their Dating and Identification . (2nd ed) Singapore : Oxford University
27.Chappell, James. (1991). The Potter’s Complete Book of Clay and Glaze. (rev. edit). Newyork: Watson-Guptill Publications
28. Emmauel, Cooper. (2000). Ten Thousand years of Pottery (rev.) London : British Museum.
29. Gombrick, E.H.(1984). The Sense of Order. (2nd. ed.) Great Britain : Phaidon
30. Graham, Flight. (1991).Introduction To Ceramics. New Jersey : Prentice Hall.
31. Griffiths, Antony. (1980). Prints and Printmaking. London : British Museum.
32. Hopper, Robin. (1984). The Ceramic Spectrum : A Simplified Approach to Glaze & Color Development. (rev). Pennsylvania : Badnor.
33. John, Gibson. (1997). Pottery Decoration. Hongkong : G & B Arts International, Ltd.
ไม่มี
www.amaco.com