การอ่านเชิงวิเคราะห์และวิจารณ์

Critical and Analytical Reading

เพื่อให้นักศึกษาเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการอ่านเชิงวิเคราะห์และวิจารณ์ มีทักษะในการอ่านและวิเคราะห์วิจารณ์ข้อเขียนต่าง ๆ และการแสดงความคิดเห็นสนับสนุนหรือคัดค้านข้อเขียนที่อ่าน
เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้เกี่ยวกับหลักการอ่านเชิงวิเคราะห์และวิจารณ์ และฝึกทักษะการอ่านเชิงวิเคราะห์และวิจารณ์ เพื่อเป็นพื้นฐานของการค้นคว้าวิจัยในระดับสูง
การอ่านเชิงวิเคราะห์ วิจารณ์ สังเคราะห์ ประเมิน และแสดงความคิดเห็นต่อบทความที่อ่านอย่างมีเหตุผล ตลอดจนนำเสนอข้อมูลในรูปของการอภิปรายหรือการเขียน  
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์  (เฉพาะรายที่ต้องการ)
ส่งเสริมผู้เรียนให้พัฒนาคุณธรรมจริยธรรมไปพร้อมกับวิทยาการ โดยเน้นที่ความมีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม 
 
สอดแทรกและส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม โดย 
1.2.1 ให้นักศึกษาทำงานมอบหมายด้วยตนเองในทุกบทเรียน โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ 
1.2.2 กำหนดเกณฑ์ให้นักศึกษาได้สร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและสม่ำเสมอ การส่งงานตรงตามกำหนดเวลา ความอดทน และการมีส่วนร่วมกับกิจกรรมในชั้นเรียน 
1.3.1 การเข้าเรียนตรงเวลา 
1.3.2 การส่งงานตามเวลาที่กำหนด 
1.3.3 การมีส่วนร่วมในกิจกรรมระหว่างเรียน  
 
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และความเข้าใจ ทั้งความรู้ด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาของรายวิชา 
2.1.1 ในทางทฤษฎีเน้นความรู้ความเข้าใจในหลักการอ่านเชิงคิดวิเคราะห์ การวิจารณ์เรื่องที่อ่าน การแสดงความคิดเห็นเชิงสนับสนุนหรือคัดค้านเรื่องที่อ่าน 
2.1.2 ในทางปฏิบัติ เน้นความสามารถในการถ่ายทอดความเข้าใจสู่เพื่อนในชั้นเรียน รวมถึงการวิเคราะห์วิจารณ์สิ่งที่อ่านอย่างถูกต้องตามหลักการ 
2.1.3 การถ่ายทอดองค์ความรู้ที่ได้รับจากการอ่านให้แก่ผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย 
2.2.1 ให้ความรู้แก่นักศึกษาในบทเรียนต่าง ๆ แล้วให้ฝึกปฏิบัติตามกิจกรรมที่กำหนดในบทเรียน 
2.2.2 ให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ และนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กันในชั้นเรียน 
2.2.3 ให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์ข้อเขียนที่อ่าน และเขียนบทวิจารณ์ข้อเขียนที่อ่าน 
2.3.1 การทดสอบย่อย / สอบกลางภาค / สอบปลายภาค 
2.3.2 การฝึกปฏิบัติการวิเคราะห์และวิจารณ์ข้อเขียนประเภทต่าง ๆ ทั้งในและนอกชั้นเรียน 
2.3.3 ผลงานจากการค้นคว้าเพิ่มเติมของนักศึกษาและนำมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชั้นเรียน
พัฒนาผู้เรียนให้เกิดทักษะในการปฏิบัติ โดยมุ่งเน้นที่ทักษะด้าน 
3.1.1 การประยุกต์ความรู้ด้านวิชาการ ที่ได้รับจากการศึกษาเนื้อหาในบทเรียน และจากการค้นคว้าเพิ่มเติมนอกชั้นเรียน มาใช้ในการวิเคราะห์วิจารณ์งานเขียนประเภทต่าง ๆ 
3.1.2 การนำความรู้ในหลักการวิเคราะห์วิจารณ์ข้อเขียนมาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ 
ยึดหลักการเรียนการสอนที่เน้นกระบวนการคิดวิเคราะห์ โดย 
3.2.1 ให้นักศึกษาฝึกวิเคราะห์และวิจารณ์ข้อเขียนที่อ่าน ทั้งเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่มย่อย 
3.2.2 ให้นักศึกษาระดมสมองเป็นกลุ่มย่อย เพื่อแสดงความคิดเห็นตามสถานการณ์เฉพาะที่กำหนด จากนั้นอภิปรายเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและเสนอแนะให้แก่กัน
3.3.1 การทดสอบภาคทฤษฎี และปฏิบัติ 
3.3.2 การอภิปราย ซักถาม แสดงความคิดเห็น และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่ม 
3.3.3 การทำแบบฝึกหัด งานที่ได้รับมอบหมาย และการศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ที่ต้องพัฒนา 
ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักการทำงานเป็นทีม โดยการช่วยกันค้นคว้าหาคำตอบ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวมถึงสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 
จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมแบบกลุ่มในชั้นเรียน กระตุ้นให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็น และช่วยกันระดมสมองในการฝึกการอ่านงานเขียนประเภทต่างๆ 
4.3.1 ให้นักศึกษาประเมินกันเองในกิจกรรมกลุ่ม 
4.3.2 ผู้สอนประเมินจากการปฏิบัติงานกลุ่ม 
4.3.3 สังเกตจากความสนใจ ความตั้งใจและการมีส่วนรวมของนักศึกษา 
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา 
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะในการใช้เทคโนโลยี โดยมุ่งเน้นให้นักศึกษาได้ค้นคว้า ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการวิเคราะห์วิจารณ์อย่างเหมาะสม
กำหนดให้นักศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ทั้ง off-line และ on-line 
ดูจากผลการศึกษาจากเว็บไซต์ที่มอบหมาย ความรู้ที่ได้รับ ผลการเรียนหลังการศึกษาค้นคว้า และการฝึกฝนด้วยตนเอง  
 
6.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ
6.1.1 สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม6.1.2 สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษา มาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง
6.1.3 สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน สังคมข้ามวัฒนธรรม
ได้อย่างเหมาะสม และมีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต
6.1.4 สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล
6.1.5 สามารถปฏิบัติงานโดยยึดถือแนวทางความคิด วิเคราะห์ บนพื้นฐานของความเป็นไทย
กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ
6.2.1 สอดแทรกการพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ในกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียน
6.2.2 จัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรให้นักศึกษาได้ฝึกปฏิบัติงานจริง
6.2.3 สนับสนุนให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานนอกชั้นเรียน
การวัดและประเมินผลตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษาดังนี้
6.3.1 งานที่ได้รับมอบหมายผลงาน หรือการฝึกประสบการณ์ทางวิชาชีพของนักศึกษา
6.3.2 พฤติกรรมและความสามารถในการใช้ภาษาของนักศึกษาเพื่อสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะในการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ มีจิตสำนึกสาธารณะ ไม่เอารัดเอาเปรียบ ซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น 1.2 มีความพอเพียง มีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม 1.3 มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม 1.4 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม และสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้ 1.5 ทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพ เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 1.6 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบด้านคุณธรรม จริยธรรมที่จะเกิดขึ้นกับบุคคล องค์กร และสังคมจากการใช้เทคโนโลยีในการสื่อสาร 2.1 มีความรู้และเข้าใจหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติในเนื้อหาของรายวิชาที่ศึกษา สามารถบูรณาการความรู้ในรายวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสมและพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาได้อย่างต่อเนื่อง 2.2 มีความรู้และเข้าใจในศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับการเรียน สามารถนำความรู้และทักษะมาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะหืปัญหาและแก้ไขปัญหาในชีวิตประจำวันได้ 2.3 มีความรู้และเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการในการวางแผน การจัด การปฏิบัติการ การควบคุมและผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่หลากหลาย 2.4 มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น 2.5 สามารถวิเคราะห์ และนำข้อมูลมาปรับปรุงและ/หรือประเมินตามสถานการณ์ ที่เกิดขึ้น 2.6 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและ รวมทั้งการนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม 2.7 รู้ เข้าใจ และสนใจที่จะพัฒนาความรู้ ความชำนาญในการใช้ภาษาอย่างต่อเนื่อง 2.8 ความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษา พร้อมทั้งเล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษา 2.9 ประสบการณ์เพื่อพัฒนาตนเองให้มีความก้าวหน้า และ/หรือการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีมาใช้ในงานได้จริง 3.1 สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินข้อมูลจากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์อย่างเหมาะสม 3.2 สามารถวิเคราะห์ผลกระทบรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ได้อย่างเหมาะสม 3.3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ เป็นระบบ สร้างสรรค์และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้และประสบการณ์ มาใช้ในการพัฒนาตนเองและสังคม 3.4 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหา และความต้องการได้ 3.5 สามารถศึกษา ค้นคว้า ประยุกต์ความรู้และทักษะในการแก้ไขปัญหาโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 4.1 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีม มีความรับผิดชอบ ยอมรับฟังและเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม 4.2 มีความสามารถในการแสดงความคิดริเริ่ม การแสดงความคิดเห็นได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีม 4.3 มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงานในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ และในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน 4.4 มีความรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพ อย่างต่อเนื่อง 4.5 สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลาย ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 4.6 มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม 4.7 สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวมพร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม 5.1 สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจในเรื่องทีศึกษา 5.2 สามารถอธิบายและสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการเครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ 5.3 สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.4 มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.5 สามารถแนะนำประเด็นการแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อเรื่องศึกษาอย่างสร้างสรรค์ 5.6 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และสามารถนำเทคโนโลยีไปใช้ในการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.1 สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ได้ศึกษาได้อย่างเหมาะสม 6.2 สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษา มาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง 6.3 สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน สังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม และมีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต 6.4 สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล 6.5 สามารถปฏิบัติงานโดยยึดถือแนวทางความคิด วิเคราะห์ บนพื้นฐานของความเป็นไทย
1 BOAEC112 การอ่านเชิงวิเคราะห์และวิจารณ์
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 Lesson 1 - 5 สอบกลางภาค 9 25%
2 Lesson 6-9 สอบปลายภาค 17 25%
3 Lesson 1-9 ทดสอบย่อย / แบบฝึกหัด /กิจกรรม / งานมอบหมาย 1-16 40%
4 จิตพิสัย จิตพิสัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
ไม่มี
เอกสารประกอบการสอนวิชาการอ่านเชิงวิเคราะห์และวิจารณ์
1. Blanchard, K., & Root, C., (2005). Ready to Read Now: A skill-based Reader. Pearson Education. 
2. Blanchard, K., & Root, C., (2006). Ready to Read More: A skill-based Reader. Pearson Education. 
3. Boonyawattana P., Vleeschauwer, J.D., Thanakeeree, I., Wangratanasopon, & N., (2010).
4. English 001201: Critical Reading And Effective Writing English. Chiang Mai University. 
5. Kongsuwannakul, K.,(2009).1006298 Reading II Classroom Material: 2th ed. Mae Fah Luang University, 
6. Scott, M.,(2008). Essential Reading 3. Macmillan Published Limited. 
7. เว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับภาษาอังกฤษ
การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จากกิจกรรมดังต่อไปนี้ 
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา 
1.3 ข้อเสนอแนะที่อาจารย์ผู้สอนได้จากนักศึกษาผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ
การเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอนมีกลยุทธ์ดังต่อไปนี้ 
2.1 การสังเกตการณ์การสอนของหัวหน้าสาขาวิชา/หัวหน้าสาขา/ผู้ที่คณะมอบหมาย 
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา 
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
นำผลประเมินการสอนตามข้อ 2 มาปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้ 
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน 
3.2 ดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน 
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาจากกิจกรรมต่างๆ เช่น การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยหัวหน้าสาขาวิชา หรือหัวหน้าสาขา หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจข้อสอบ รายงานวิธีการให้คะแนนสอบ คะแนนภาคปฏิบัติ และการให้คะแนน
นำผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา มาวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดของรายวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้นดังนี้ 
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้จากรายวิชานี้ เข้ากับปัญหาที่มาจากงานวิจัยหรือประสบการณ์ของอาจารย์