การตกแต่งเซรามิก

Ceramics Decoration

รู้ประวัติและรูปแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกที่ตกแต่งลวดลายบนผลิตภัณฑ์ก่อนเผา เข้าใจวิธีการตกแต่งผลิตภัณฑ์เซรามิกขณะเตรียมดิน ขณะขึ้นรูป และหลังการขึ้นรูป รู้ประวัติความเป็นมาและรูปแบบลวดลายของผลิตภัณฑ์เซรามิกที่ตกแต่งใต้เคลือบ รู้วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการตกแต่งใต้เคลือบและการตกแต่งด้วยเคลือบ การเตรียมสีและออกไซด์สำหรับการตกแต่งใต้เคลือบ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้พื้นฐานด้านการตกแต่งเซรามิก เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนำความรู้ ความเข้าใจ หลักการและทักษะการตกแต่งเซรามิกขณะเตรียมดิน ขณะขึ้นรูป และหลังการขึ้นรูป บนผิวชิ้นงานที่ผ่านการเผาดิบ เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ การตกแต่งเซรามิก 2 การออกแบบเซรามิก และการทำโครงงานเซรามิก
ศึกษาประวัติและรูปแบบผลิตภัณฑ์เซรามิกที่ตกแต่งลวดลายบนผลิตภัณฑ์ก่อนเผา วิธีการตกแต่งผลิตภัณฑ์เซรามิกขณะเตรียมดิน ขณะขึ้นรูป และหลังการขึ้นรูป ประวัติความเป็นมาและรูปแบบลวดลายของผลิตภัณฑ์เซรามิกที่ตกแต่งใต้เคลือบ วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการตกแต่งใต้เคลือบและการตกแต่งด้วยเคลือบ การเตรียมสีและออกไซด์สำหรับการตกแต่งใต้เคลือบ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
1.1.3 มีจิตอาสาจิตสำนึกสาธารณะ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
2.1.1  รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรมและศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง
 2.1.2  มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหาและพัฒนาทางด้านเซรามิกอย่างมีระบบ
บรรยาย  ซักถาม  และมอบหมายให้ศึกษา สืบค้นหาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนำมารวบรวมสรุปส่งมอบงานภาคปฏิบัติงาน
2.3.1   ทดสอบย่อย กลางภาค ปลายภาค 
2.3.2   ประเมินจากงานที่มอบหมายสืบค้นหาข้อมูล และงานภาคปฏิบัติงาน
3.1.1  สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากปหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน
3.1.2  สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์
3.2.1   บรรยาย และการให้นักศึกษาปฏิบัติงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
3.2.3   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1   สอบปลายภาค  โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิดในการตกแต่งเซรามิก
3.3.2   วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
4.1.1   มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษย์สัมพันธ์ดี
4.2.1   มอบหมายงานรายบุคคล
4.2.2   การนำเสนองาน
4.3.1   ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด
4.3.2  ประเมินจากผลงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3   ประเมินจากรายงานการศึกษาด้วยตนเอง
5.1.2   สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1   ประเมินจากผลงาน และการนำเสนอด้วยหลักการและแนวทางการแก้ปัญหา
5.3.2   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
ไม่มี
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BTECE134 การตกแต่งเซรามิก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ สอบกลางภาค สอบปลายภาค รายงาน จิตพิสัย สอบกลางภาค สัปดาห์ที่ 8 สอบปลายภาค สัปดาห์ที่ 17 รายงาน สัปดาห์ที่ 16 จิตพิสัย ตลอดภาคเรียน สอบกลางภาค 30% สอบปลายภาค 30% รายงาน 30% จิตพิสัย 10%
1.กฎษดา พิณศรี ปริวรรต ธรรมาปรีชากร และอุษา  ง้วนเพียรภาค.(2535). เครื่องถ้วยสุโขทัย. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งกรู๊พ.
2.กรมศิลปากร. (2533). แหล่งเตาล้านนา. กรุงเทพ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
3.ไกรศรี  นิมมานเหมินทร์. (2526)  เครื่องถ้วยสันกำแพง. เชียงใหม่: ศูนย์หนังสือเชียงใหม่.
4.โกมล  รักษ์วงศ์.(มปป.). วัตถุดิบที่ใช้ในเครื่องปั้นดินเผาและเนื้อดินปั้น. นนทบุรี : โรงเรียนมารดานุเคราะห์
5.จอนห์ ซี ชอว์. แปลโดย สมพร วาร์นาโด, เอมอร  ตูวิเชียร และอุษณีย์  ธงไชย. (มปป.)  เครื่องปั้นดินเผาไทย. (เอกสารวิชาการชุดเครื่องปั้นดินเผา ลำดับที่ 1). ศูนย์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
6.ดุษฎี  สุนทรารชุน. (2531). การออกแบบลายพิมพ์ผ้า. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
7.ประเสริฐ  ศีลรัตนา (2538). การออกแบบลวดลาย. กรุงเทพฯ :โอเดียนสโตร์
8.ปริวรรต ธรรมาปรีชากร และกฎษดา พิณศรี. (2533) เครื่องถ้วยในประเทศ. กรุงเทพฯ: แอคมี พริ้นติ้ง.
9.ปริวรรต ธรรมาปรีชากร และคณะ. (บรรณาธิการ) (2539) ศิลปะเครื่องถ้วยในประเทศไทย (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โอสถสภาเต็กเฮงหยู.
10.ปราสาท วงสกุล  ทองดุลย์  ธนะรัชต์  วิฑูรย์  ยะสวัสดิ์  สุจินต์  พิทักษ์  และดาวรุ่ง  พรสาธิต. (2538). สเปเชี่ยล : เบญจรงค์ไทย  เซรามิกส์. 1(2). 22-42
11.เปี่ยมสุข  เหรียญรุ่งเรือง. (มปป.)  ประวัติศาสตร์เครื่องปั้นดินเผา เล่ม 1 ยุคโบราณและตะวันออกไกล. (เอกสารคำสอนประกอบรายวิชาประวัติเครื่องเคลือบดินเผา) คณะมัณฑนะศิลป์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
12.ภุชชงค์ จันทวิช, ณัฏฐภัทร จันทวิช และสิงห์คม หงษ์จินตกุล. (บรรณาธิการ) (2542) เครื่องถ้วยเบญจรงค์และลายน้ำทอง (โครงการสืบสานมรดกวัฒนธรรมไทย). กรุงเทพฯ : มรดกไทย.
13.พจน์ เกื้อกูล. (2512) เครื่องถ้วยและเตาสันกำแพง กรุงเทพฯ : ศิลปากร.
14.ไพจิตร  อิ่งศิริวัฒน์. (2546). สีเซรามิก. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
15.วิรุณ  ตั้งเจริญ.(2537). ออกแบบ 2 มิติ. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.
16.เวนิช สุวรรณโมลี. (มมป.) เทคนิคตกแต่งเซรามิกซ์. เอกสารประกอบการสอน รายวิชา 365201 เทคนิคการตกแต่ง มหาวิทยาลัยศิลปากร.
17.ศุภกา  ปาลเปรม.(2537) .การแสดงศิลปะเครื่องปั้นดินเผาแห่งชาติ ครั้งที่ 7. “มุมนักทำเครื่องปั้นดินเผาสมัครเล่น” กรุงเทพ : อัมรินทร์พริ้นติ้ง. หน้า 124-133.
18. เศรษฐมันตร์  กาญจนกุล.(2543) .ลวดลายบาหลี. กรุงเทพฯ : เศรษฐศิลป.
19. สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ ร่วมกับวิทยาลัยครูเชียงใหม่ และศูนย์วัฒนธรรมประจำจังหวัดต่างๆ ในภาคเหนือ. (2524). เชิดชูเกียรติ นายไกรศรี  นิมมานเหมินท์. กรุงเทพฯ: ไตรรงค์การพิมพ์.
20. สำนักโบราณคดีและพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ กรมศิลปากร. (2539). โบราณคดีวิเคราะห์2 : เครื่องถ้วยบุรีรัมย์และเครื่องถ้วยสุโขทัย. กรุงเทพฯ: ดอกเบี้ย.
21. สมศักดิ์ ธรรมาปรีชากร (มปป.) เครื่องถ้วยล้านนา  เครื่องถ้วยในเอเซียอาคเนย์ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 15-22. กรุงเทพฯ: โอสถสภาเต็กเฮงหยู.
22. Ayers, J. (1980). Far Eastern Ceramics in the Victoria and Albert Museum. (2nd. ed.). Japan:Sotheby Parke Bernet Pub.
23. Bellaire, Marc (1975). Brush Decoration for.(6th )  Ohio : Professional Publications, Inc.
24. Bismarck, Beatrice von. (1993). Impressionist art vol.II. Germany : Ingo F. Walther
25. Brick, Tony.(1996). The Complete Potter’s Companion. Hongkong :  Conran Octopus.
26.Brown, M. Roxanna (1988). The Ceramics of South-East Asia Their Dating and Identification . (2nd ed) Singapore : Oxford University
27.Chappell, James. (1991). The Potter’s Complete Book of Clay and Glaze. (rev. edit). Newyork: Watson-Guptill Publications
28. Emmauel, Cooper. (2000). Ten Thousand years of Pottery (rev.) London : British Museum.
29. Gombrick, E.H.(1984). The Sense of Order. (2nd. ed.) Great Britain : Phaidon
30. Graham, Flight. (1991).Introduction To Ceramics. New Jersey : Prentice Hall.
31. Griffiths, Antony. (1980). Prints and Printmaking. London : British Museum.
32. Hopper, Robin. (1984). The Ceramic Spectrum : A Simplified Approach to Glaze & Color Development. (rev). Pennsylvania : Badnor.
33. John, Gibson. (1997). Pottery Decoration. Hongkong : G & B Arts International, Ltd.
ไม่มี
www.amaco.com
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์