การออกแบบแฟชั่นเพื่อการตลาด

Commercial Fashion Design

ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการออกแบบแฟชั่นเพื่อการตลาด การวิเคราะห์และวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคเพื่อสอดคล้องกับการออกแบบ การสร้างแบรนด์สินค้าเสื้อผ้าแฟชั่นเพื่อตอบสนองเฉพาะกลุ่มลูกค้า การพัฒนาผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าแฟชั่นสำเร็จรูป
เพื่อให้นักศึกษามีทักษะเกี่ยวกับการออกแบบแฟชั่นเพื่อการตลาด การวิเคราะห์และวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคเพื่อสอดคล้องกับการออกแบบ การสร้างแบรนด์สินค้าเสื้อผ้าแฟชั่นเพื่อตอบสนองเฉพาะกลุ่มลูกค้า การพัฒนาผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าแฟชั่นสำเร็จรูป
ฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการออกแบบแฟชั่นเพื่อการตลาด การวิเคราะห์และวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคเพื่อสอดคล้องกับการออกแบบ การสร้างแบรนด์สินค้าเสื้อผ้าแฟชั่นเพื่อตอบสนองเฉพาะกลุ่มลูกค้า การพัฒนาผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าแฟชั่นสำเร็จรูป
1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
การเคารพสิทธิทางปัญญา
การระบุสิทธิในงานออกแบบ โดยเฉพาะเนื้อหาเรื่อง Creative Common
การระบุสิทธิในผลงานของตนเอง
ความรู้ด้านการออกแบบแฟชั่นเพื่อการตลาด การวิเคราะห์และวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคเพื่อสอดคล้องกับการออกแบบ การสร้างแบรนด์สินค้าเสื้อผ้าแฟชั่นเพื่อตอบสนองเฉพาะกลุ่มลูกค้า การพัฒนาผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าแฟชั่นสำเร็จรูป
การบรรยาย การสาธิต การอภิปราย การทดลอง และการปฏิบัติงาน
การถามตอบ การทดสอบ และการนำเสนอผลงานจากการปฏิบัติงานของนักศึกษา
ทักษะทางปัญญาด้านการออกแบบแฟชั่นเพื่อการตลาด การวิเคราะห์และวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคเพื่อสอดคล้องกับการออกแบบ การสร้างแบรนด์สินค้าเสื้อผ้าแฟชั่นเพื่อตอบสนองเฉพาะกลุ่มลูกค้า การพัฒนาผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าแฟชั่นสำเร็จรูป
ให้นักศึกษาทดลองปฏิบัติงานจากตัวอย่างในการปฏิบัติงานจริง
วัดผลจากการประเมินจากการนำเสนอผลงาน
พัฒนาความรับผิดชอบในการเรียนรู้ด้วยตนเอง มีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา ทั้งงานรายบุคคลและงานกลุ่ม
มอบหมายงานให้ศึกษาเพิ่มเติมด้วยตนเอง และมอบหมายงานปฏิบัติทั้งแบบรายกลุ่มและรายบุคคล
ประเมินจากผลการเรียน และผลงานนำเสนอทั้งแบบกลุ่ม และรายบุคคล
พัฒนาทักษะด้านการสื่อสารเพื่อใช้ในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ และแนะนำรูปแบบการเสนอโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอ
ทักษะทางด้านการออกแบบแฟชั่นเพื่อการตลาด การวิเคราะห์และวิจัยพฤติกรรมผู้บริโภคเพื่อสอดคล้องกับการออกแบบ การสร้างแบรนด์สินค้าเสื้อผ้าแฟชั่นเพื่อตอบสนองเฉพาะกลุ่มลูกค้า การพัฒนาผลิตภัณฑ์เสื้อผ้าแฟชั่นสำเร็จรูป
การฝึกปฎิบัติ
ประเมินผลจากผลงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย 1. ด้านคุณธรรมจริยธรรม 2. ด้านความรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 4
1 BAATJ137 การออกแบบแฟชั่นเพื่อการตลาด
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.3.1 2.3.2 สอบกลางภาค และ สอบปลายภาค 9 และ 18 30
2 2.1 3.1.1-3.1.2 4.1.1-4.1.2 5.1.1-5.1.2 6.1-6.3 การปฏิบัติงานและผลงาน ตลอดภาคเรียน 60
3 1.1.2-1.1.5 4.1.1 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด ตลอดภาคเรียน 10
Fashionary, (2018). The Fashion Business Manual. China, Fashionary International Ltd.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้  
การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้  
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน  
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา  
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้  
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้  
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร  
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้  
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์