พันธุศาสตร์ปริมาณสำหรับการปรับปรุงพันธุ์พืช

Quantitative Genetics for Plant Breeding

: เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้าน
1) เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงค่าและค่าเฉลี่ย ความแปรปรวน
2) เพื่อให้ผู้เรียนทราบถึงความคล้ายคลึงระหว่างเครือญาติ
3) เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบถึงแบบแผนการผสมพันธุ์  และการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของชั่ว
4) เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบถึงการประยุกต์ความรู้ด้านพันธุศาสตร์ปริมาณและสถิติสำหรับ
การปรับปรุงพันธุ์พืช ตำแหน่งของยีนที่ควบคุมลักษณะปริมาณ การถ่ายทอดลักษณะและเสถียรภาพของพันธุ์พืช
1) นักศึกษาสามารถพัฒนาศักยภาพองค์ความรู้ด้านพันธุศาสตร์ปริมาณสำหรับการปรับปรุงพันธุ์พืช เพื่อให้สอดคล้องต่อการเปลี่ยนแปลงที่เหมาะสม
2) เนื่องจากองค์ความรู้ด้านพันธุศาสตร์ปริมาณสำหรับการปรับปรุงพันธุ์พืชได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว จึงเพิ่มการศึกษาผลงานวิชาการที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา
แบบแผนการผสมพันธุ์ การประยุกต์ความรู้ด้านพันธุศาสตร์ปริมาณและสถิติสาหรับการปรับปรุงพันธุ์พืช ตำแหน่งของยีนที่ควบคุมลักษณะปริมาณ การถ่ายทอดลักษณะ และเสถียรภาพของพันธุ์พืช
Plant breeding program, the application of quantitative genetics and statistics for plant breeding. Loci controlling quantitative traits. Inheritance and stability in plant varieties.
3.1 วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้อง อาคารเมล็ดพันธุ์พืช โทร...089-6330887
   3.2  e-mail; januluk@yahoo.com  ทุกวัน
1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
1.2 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
1.3 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม
1. กระบวนการสืบค้น
(Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
4. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
5. การสอนแบบบรรยาย
1. การเขียนบันทึก
2. การสังเกต
3. การนำเสนองาน
2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีในเนื้อหาที่ศึกษา
2.2 สามารถเชื่อมโยงทฤษฎีความรู้ ความเข้าใจ เข้ากับงานวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพอย่างลึกซึ้ง
2.3 สามารถสร้างความรู้ใหม่ๆ ตลอดจนสามารถประยุกต์ นำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม
2.4 มีความรู้และตระหนักในระเบียบข้อบังคับที่ใช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อวิชาชีพ
1. กระบวนการสืบค้น
(Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
4. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
5. การสอนแบบบรรยาย
1. การเขียนบันทึก
2. การสังเกต
3. การนำเสนองาน
3.1 มีทักษะในการนำความรู้มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์เป็นระบบ
 
3.2 สามารถพัฒนาความคิดใหม่ๆ โดยบูรณการความรู้ที่ศึกษาตลอดถึงการใช้เทคนิคการวิจัยในสาขากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
1. กระบวนการสืบค้น
(Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
4. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
5. การสอนแบบบรรยาย
1. การเขียนบันทึก
2. การสังเกต
3. การนำเสนองาน
4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.2  สามารถแก้ไขปัญหาทาง
วิชาชีพที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงได้ด้วยตนเองสามารถตัดสินใจในการดำเนินงานด้วยตนเอง
4.3 สามารถประเมินตนเองได้
รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้
4.4 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.5  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. กระบวนการสืบค้น
(Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. การสอนแบบบรรยาย
1. การเขียนบันทึก
2. การสังเกต
5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
 
 
5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. ใช้ Power point มีการนำเสนอข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
2. การแนะนำเทคนิคการสืบค้นข้อมูล
3. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
4. การนำเสนองานด้วยวาจา
1. การสังเกต
2 .การนำเสนองาน
6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
6.2 สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
6.3 สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1. การมอบหมายงานด้วยการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
2. การนำเสนองานด้วยวาจา
1. งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2. การสังเกต
3. การนำเสนองาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 1.คุณธรรมจริยธรรม 4. ทักษะความสัมพันธ์ 5. ทักษะการวิเคราะห์ 6. ทักษะด้านพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะ พิสัย
1 MSCPT203 พันธุศาสตร์ปริมาณสำหรับการปรับปรุงพันธุ์พืช
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,2.1,2.3,3.2,3.3 การสอบกลางภาค 9 30%
2 2.1,3.2,4.1,4.2, 4.3,5.1,5.2,5.3 รายงานกลุ่ม 8, 15และ 16 20 %
3 1.1, 2.1,2.3,3.2,3.3 การสอบปลายภาค 17 30%
4 1.1,1.4 การประเมินพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม 1 - 16 10%
5 1.3,4.3 การประเมินพฤติกรรมด้านความรับผิดชอบ 1-16 5 %
6 4.1,4.2,4.3 การประเมินด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบในการทำงานกลุ่ม โดยนักศึกษาสมาชิกกลุ่ม 8, 15 และ 16 5 %
กิตติพัฒน์ อุโฆษกิจ. 2549. พันธุศาสตร์. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จ. ปทุมธานี. 474 น.
ประดิษฐ์ พงศ์ทองคำ. 2546. พันธุศาสตร์. ภาควิชาพันธุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
          มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. 398 น.
                    . 2550. พันธุศาสตร์ประชากรและปริมาณ. ภาควิชาพันธุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์
          มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ. 215 น.
พีระศักดิ์ ศรีนิเวศน์ และ ประเสริฐ ฉัตรวชิระวงษ์. 2548. พันธุศาสตร์เชิงปริมาณที่ใช้ในการ
ปรับปรุงพันธุ์พืช. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน คณะเกษตร ภาควิชาพืชไร่นา 250 น.
สมชัย จันทร์สว่าง และพีระศักดิ์ ศรีนิเวศน์. 2546. พันธุศาสตร์ประชากร. ภาควิชาสัตวบาล  และ
ภาควิชาพืชไร่นา  คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ 210 น.
สุทัศน์ ศรีวัฒนพงศ์. 2552. การปรับปรุงพันธุ์พืช. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, กรุงเทพฯ. 259 น.
Allard. R.W. 1960. Principle of Plant Breeding. John Wiley $ Sons, New York.
Becker, W.A. 1984. Manual of Quantitative Genetics (4 th ed. ). Academic Enterprises,
          Pullman, Washington. 190 p.
Eberhart, S.A. and W.A. Russell. 1966. Stability parameters for comparing varieties,
Crop Sci. 6: 36 – 40.
Daniel L. Hartl and Andrew G. Clark. 1997. Principles of Population Genetics. Third Edition.
          Sinauer Associated, Inc. 542 p.
Falconer, D. S. and T. F.C. Mackey.1996.Introduction to Quantitative Genetics. Longman,
          London. 464 p.
Gardner, C.O. and S.A. Eberhart. 1966. Analysis and interpretation of the variety cross
          diallel and related populations. Biometric 22: 439 – 452.
George Acquaah. 2007. Principles of Plant Genetics and Breeding. Blackwell Publishing Ltd.
          569. P.
Halliburton, R. 2006. Introduction to Population Genetics. Pearson Education, INC,
New Jersey. 650 p.
Kang Manjit S. 2002. Quantitative genetics, genomics, and plant breeding. CABI
Publishing.400 p.
Li C.C. 1976. First Course in Population Genetics. The Boxwood Press, Pacific Grove,
 California. 631 p.
Mather, K. and J.L. Jinks. 1982. Biometrical Genetics: Study of Continuous Variation.
          Chapman and Hall, London. 396 p.
รายงานประชุมสมาคมปรับปรุงพันธุ์และขยายพันธุ์พืชแห่งประเทศไทย
รายงานการสัมมนาทางวิชาการพืชสวนแห่งชาติ
รายงานการสัมมนาทางวิชาการมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
http://ag-ebook.lib.ku.ac.th/ebooks/2014/20140146/index.html#/60/
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมใน และนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับและเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
ประเมินโดยสาขาวิชาแต่งตั้งคณะกรรมการประเมิน หรือจากการสังเกตการสอนโดยอาจารย์ในสาขาวิชา หรือ การสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิภาพของรายวิชา แล้วจัดทำรายงานรายวิชาตามรายละเอียดที่ สกอ. กำหนดเมื่อสอนจบภาคการศึกษา นอกจากนี้สาขาวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนเข้ารับการฝึกอบรมกลยุทธ์การสอนหรือการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน  และมีการประชุมอาจารย์ทั้งสาขาวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
สาขาวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชาโดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของสาขาวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
สาขาวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของภาควิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและ   กลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าสาขาวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป