ปฏิบัติการวงจรดิจิตอล

Digital Circuits Laboratory

เพื่อให้นักศึกษา
              1. เข้าใจระบบตัวเลขและรหัสที่ใช้ในงานด้านดิจิตอล
            2. เข้าใจการทำงานของวงจรดิจิตอล
            3. เข้าใจการออกแบบวงจรดิจิตอลและลอจิก
            4. เข้าใจการใช้งานวงจรดิจิตอลในงานอุตสาหกรรม
              5. มีทักษะในการประกอบและทดสอบวงจรดิจิตอล
            6. เห็นคุณค่าของการนำทฤษฎีไปใช้
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ขั้นพื้นฐาน เข้าใจในเรื่องระบบตัวเลขและรหัสที่ใช้ในงานด้านดิจิตอล
การทำงานของวงจรดิจิตอล การออกแบบวงจรดิจิตอลและลอจิก การใช้งานวงจรดิจิตอลในงานอุตสาหกรรมตลอดจนเทคโนโลยีในการพัฒนาระบบดิจิตอล
ปฏิบัติการเกี่ยวกับเนื้อหารายวิชาวงจรดิจิตอลและการออกแบบวงจรลอจิก
หมายเหตุ คำอธิบายรายวิชาวงจรดิจิตอลและการออกแบบวงจรลอจิก
ศึกษาเกี่ยวกับระบบตัวเลขและรหัส  พีชคณิตบูลีน การลดทอนฟังก์ชันลอจิก การออกแบบวงจรลอจิกคอมไบเนชั่น การออกแบบวงจรซีเควนเชียล หน่วยคำนวณและลอจิกด้านคณิตศาสตร์ในระบบดิจิตอล การแปลงสัญญาณดิจิตอลเป็นแอนะลอกและแอนะลอกเป็นดิจิตอล การประยุกต์ใช้วงจรดิจิตอลในงานอุตสาหกรรม
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม ตระหนักในความสำคัญของคุณธรรมจริยธรรม  มีจรรยาบรรณวิชาชีพตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม

(ผลการเรียนรู้ข้อ 1.1)

มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.2) มีวินัย  ขยัน  อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง  สังคม และสิ่งแวดล้อม (· ผลการเรียนรู้ข้อ 1.3)

เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.4)
สอนสอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรม (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.1) เน้นเรื่องการแต่งกายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง ตามระเบียบข้อบังคับของ

มหาวิทยาลัย (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.3)

ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา   การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด

(· ผลการเรียนรู้ข้อ 1.3)
ปลูกฝังจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.2)
1.3.1   สังเกตการแต่งกาย และการกระทำผิดวินัย (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.3)
1.3.2   เช็คชื่อทุกครั้งที่ทำการสอน (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.3)
1.3.3   ประเมินผลการนำเสนอผลการปฏิบัติการทดลองที่มอบหมาย
           (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.2-1.4)
              2.1 1 เข้าใจระบบตัวเลขและรหัสที่ใช้ในงานด้านดิจิตอล
            2.1.2 เข้าใจการทำงานของวงจรดิจิตอลแบบวงจรจัดหมู่และวงจรซีเควนเชียล
            2.1.3 เข้าใจการออกแบบวงจรดิจิตอลแบบวงจรจัดหมู่และวงจรซีเควนเชียล
            2.1.4 เข้าใจการใช้งานวงจรดิจิตอลในงานอุตสาหกรรม
            2.1.5 เห็นคุณค่าของการนำทฤษฎีไปใช้
              2.2.1 มอบหมายงานให้นักศึกษาปฏิบัติตามทฤษฎีที่ได้เรียนมาและทำการออกแบบวงจรตามที่ระบุในแต่ละใบมอบหมายงาน
                          (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.2-1.4,2.1-2.3, 3.1-3.2, 5.1-5.3, 6.1-6.2)
               2.2.2  มอบหมายให้ทำงานแบบกลุ่มโดยการทำชิ้นงานย่อย
                         (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.2-1.4, 2.1-2.3, 3.1-3.2, 4.1-4.4,5.1-5.3,6.1-6.2)
2.3.1   จากจำนวนผลการปฏิบัติการทดลองและการส่งผลการปฏิบัติงานในระหว่างชั่วโมงเรียน (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.2-1.4, 2.1-2.3, 3.1-3.2, 4.1-4.4,5.1-5.3,6.1-6.2)
2.3.2   ทดสอบย่อย (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.3,2.1, 3.1-3.2, 5.3)
2.3.3   การทำงานแบบกลุ่มโดยการทำชิ้นงานย่อย
           (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.2-1.4, 2.1-2.3, 3.1-3.2, 4.1-4.4,5.1-5.3,6.1-6.2)
                  3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ
                           (· ผลการเรียนรู้ข้อ 3.1)
                      3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ (ผลการเรียนรู้ข้อ 3.2)
3.2.1   มอบหมายงานให้นักศึกษาปฏิบัติตามทฤษฎีที่ได้เรียนมาและทำการออกแบบวงจรตามที่ระบุในแต่ละใบมอบหมายงาน
(ผลการเรียนรู้ข้อ 1.2-1.4,2.1-2.3, 3.1-3.2, 5.1-5.3, 6.1-6.2)
       3.2.2  การมอบให้นักศึกษาทำงานแบบกลุ่มโดยการทำชิ้นงานย่อย
                 (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.2-1.4, 2.1-2.3, 3.1-3.2, 4.1-4.4,5.1-5.3,6.1-6.2)
3.3.1   จากการปฏิบัติการทดลองและการส่งผลการปฏิบัติงานในระหว่างชั่วโมงเรียน
           (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.2-1.4, 2.1-2.3, 3.1-3.2, 4.1-4.4,5.1-5.3,6.1-6.2)
3.3.2   ประเมินจากผลการทำชิ้นงาน
           (ผลการเรียนรู้ข้อ 1.2-1.4, 2.1-2.3, 3.1-3.2, 4.1-4.4,5.1-5.3,6.1-6.2)
        4.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
              4.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
              4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
                      (· ผลการเรียนรู้ข้อ 4.3)
                   4.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
4.2.1   มอบหมายงานให้นักศึกษาทำงานกลุ่มโดยการทำชิ้นงานย่อย
           (ผลการเรียนรู้ข้อ 4.1-4.4)                                
4.3.1   ประเมินจากผลการทำงาน (ผลการเรียนรู้ข้อ 4.1-4.4)                   
             5.1.1   สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
             5.1.2  สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม   (· ผลการเรียนรู้ข้อ 5.2)
                  5.1.3           สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ค้นหาโปรแกรมการจำลองการทำงานของวงจรดิจิตอลและโปรแกรมภาษาVHDL (ผลการเรียนรู้ข้อ 5.1-5.3)    
5.2.2    มอบหมายให้ทำการทดลองโดยใช้โปรแกรมการจำลองการทำงานของวงจรดิจิตอลและโปรแกรมภาษาVHDL (ผลการเรียนรู้ข้อ 5.1-5.3)                                
5.3.1   ประเมินจากการทำการทดลองการทำงานของวงจรดิจิตอลโดยใช้โปรแกรมจำลองการทำงาน (ผลการเรียนรู้ข้อ 5.1-5.3)
6.1 มีทักษะในการบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม (· ผลการเรียนรู้ข้อ 6.1)
            6.2 มีทักษะด้านการสอนในสายวิชาชีพที่เด่นชัด
6.2.1 มอบหมายงานมอบหมายให้ทำการออกแบบวงจรที่กำหนด และศึกษาโปรแกรมการจำลองการทำงานของวงจรดิจิตอลและโปรแกรมภาษาVHDL (ผลการเรียนรู้ข้อ 6.1-5.3)
      6.2.2  ประกอบวงจรที่ออกแบบ   ทดสอบการทำงาน บันทึกผลการทดลอง  อธิบายการทำงานและผลลัพธ์ของการทำงานของวงจรที่ประกอบสำเร็จแล้วให้อาจารย์ผู้ควบคุมตรวจ
                  (ผลการเรียนรู้ข้อ 6.1-6.2)                                                                
       6.3.1 ประเมินจากการทำงานของวงจรดิจิตอลและโดยใช้โปรแกรมจำลองการทำงาน   
                 (ผลการเรียนรู้ข้อ 6.1-6.2)
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม 2. ด้านความรู้ 3. ด้านทักษะทางปัญญา 4. ด้านความสัมพันธ์บุคคลและรับผิดชอบ 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารละการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2
1 32014203 ปฏิบัติการวงจรดิจิตอล
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 # 1.2-1.4 # 2.1-2.3 # 3.1-3.2 # 4.1-4.3 # 5.1-5.3 # 6.1-6.2 จำนวนผลการปฏิบัติการทดลองในแต่ละการทดลอง 1-8 , 10-16 70%
2 1.3, 2.1, 3.1-3.2, 5.3 6.1 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 8 17 5% 5%
3 1.3 1.3 การเช็คชื่อการเข้าชั้นเรียน การแต่งกายและการทำผิดวินัย ตลอดภาคการศึกษา 10%
4 # 1.2-1.4 # 2.1-2.3 # 3.1-3.2 # 4.1-4.3 # 5.1-5.3 # 6.1-6.2 การทำงานแบบกลุ่มโดยการทำชิ้นงานย่อย การส่งงานตามเวลาที่กำหนด การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน 10%
1. Digital Design : Principles&Practices. 3rd   John  F. Wakerly, Prentice Hall ,2000.
 
2.  Digital Systems : Principles and Applications .11th   Tocci , Pearson , 2010.
 
3. Digital Design. 3rd   M.Morris Mano, EBSCO Publishing, 2003.
 
4. Digital Fundamentals. 9th Thomas L. Floyd, Prentice Hall, 2005.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้จัดทำโดยนักศึกษามีส่วนร่วมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษา

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน

แบบประเมินผู้สอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตของผู้สอน
2.2   ผลการปฏิบัติงานของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จะมีการปรับปรุงการสอน โดยการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ร่วมกับอาจารย์ผู้สอนในรายวิชาที่มีเนื้อหาใกล้เคียงกัน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชาจะจัดให้มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา โดยการตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา การทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น
4.2   ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบรายงานผลการปฏิบัติงาน วิธีการให้คะแนนผลงานและการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาเพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงหัวข้องานที่มอบหมายและจัดลำดับหัวเรื่องการทดลองใหม่
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้ควบคุมการทดลอง
5.3  เปลี่ยนแนวทางในการควบคุมและตรวจสอบการปฏิบัติงานของนศ.