การบริหารจัดการระบบ

System Management

เข้าใจแนวคิดการบริหารจัดการในระบบอุตสาหกรรม เข้าใจระบบการตรวจสอบคุณภาพในระบบอุตสาหกรรม เข้าใจหลักความปลอดภัยในระบบอุตสาหกรรม เข้าใจหลักเศรษฐศาสตร์โลจิสติกส์ เข้าใจหลักการอุตสาหกรรมสมัยใหม่
เข้าใจกระบวนการในระบบงานอุตสาหกรรม และอุตสาหกรรมสมัยใหม่ที่นำเทคโนโลยีมาใช้งานในภาคอุตสาหกรรม
              การศึกษาเกี่ยวกับความรู้ด้านการจัดการและการควบคุมในระบบอุตสาหกรรมมาตรฐาน และความปลอดภัยทางวิศวกรรม เศรษฐศาสตร์โลจิสติกส์ รวมไปถึงการนำสารสนเทศมาใช้ในการบริหารจัดการ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือ รายกลุ่มตามความต้องการ ประมาณ 1 ชั่วโมงต่อ สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีวินัย  ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อตนเองและผู้อื่น สำนึกในหน้าที่ของตนเองและผู้อื่น รวมทั้งเคารพในสิทธิ และศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
1. อาจารย์ผู้สอนสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพในการสอน
2. กำหนดให้มีวัฒนธรรมองค์กร เพื่อปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย
3. เน้นการเข้าชั้นเรียนตรงเวลาและการแต่งกายให้เป็นตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
4. การเป็นแบบอย่างที่ดีของอาจารย์
1. ประเมินการส่งงานที่ได้รับมอบหมาย การเข้าร่วมกิจกรรม
2. ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3. ประเมินจากพฤติกรรมการเรียนและการสอบ
1.   เข้าใจเกี่ยวกับระบบอุตสาหกรรม
2.   เข้าใจเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีในระบบอุตสาหกรรม
3.   แสวงหาความรู้แหล่งเรียนรู้อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานอุตสาหกรรม
1. เน้นการเรียนการสอนที่เป็น active learning
2. จัดให้มีการเรียนรู้จากแบบฝึกหัดท้ายบท
1.  กาสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.  ประเมินจากงานที่ส่ง
1.   สามารถคิดวิเคราะห์ในการพัฒนาภาคอุตสาหกรรม
2.   สามารถนำความรู้ ไปเชื่อมโยงกับการทำงานในองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.  จัดกระบวนการเรียนการสอนที่ฝึกทักษะการคิดในรูปแบบภาคอุตสาหกรรม
2.  จัดทำแบบฝึกหัดท้ายบทเพื่อฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับการจัดการสำหรับภาคอุตสาหกรรม
การใช้ข้อสอบหรือแบบฝึกหัดที่ให้นักศึกษาคิดแก้ปัญหา การส่งงานแบบฝึกหัดท้ายบทตามกำหนดเวลา
1.   สามารถคิดวิเคราะห์ปัญหาเกี่ยวกับภาคอุตสาหกรรม
2.   รับผิดชอบในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
1.  จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นการทำงาน
2.  สอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
ประเมินความรับผิดชอบตามงานที่ได้รับมอบหมาย ประเมินตามผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
ก้าวทันเทคโนโลยีการใช้งานในภาคอุตสาหกรรม
จัดการเรียนการสอนที่เน้นการฝึกทักษะการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ จัดทำแบบฝึกหัดเสริมการเรียนรู้เกี่ยวกับภาคอุตสาหกรรม
ประเมินจากงานที่ส่ง ประเมินจากผลการสอบกลางภาคและปลายภาค
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค 9 25%
2 สอบปลายภาค 18 25%
3 ส่งงานที่ได้รับมอบหมาย 2-17 50%
เอกสารประการสอนวิชาการเขียนการบริหารจัดการระบบ
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการระบบ
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ได้ให้นักศึกษาเข้าประเมินผลการเรียนการสอนทางเว็บไซต์
สังเกตการสอน ประเมินจากผลการประเมินผู้สอนและผลการเรียนของนักศึกษา
หลังจากได้รับผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จะมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และสรรหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในรายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา
ปรับปรุงรายวิชาทุก 5 ปี หรือตามข้อเสนอแนะปรับปรุงการสอนในข้อ 3 และผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4