รูปลอกเซรามิก

Ceramics Decal

1.เข้าใจประวัติความเป็นมาของการตกแต่งลวดลายบนผิวชิ้นงาน
2.เข้าใจหลักการเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ การพิมพ์ระบบซิลสกรีน
บนกระดาษรูปลอก ด้วยสีใต้เคลือบ สีบนเคลือบและสีในเคลือบ
3.เข้าใจหลักการออกแบบลวดลาย การแยกสี การสร้างแม่พิมพ์
การเตรียมสีใต้เคลือบ สีบนเคลือบและสีในเคลือบ
4.เข้าใจวิธีการพิมพ์รูปลอกด้วยสีใต้เคลือบสีบนเคลือบและสีในเคลือบสีเดียวและหลายสีระบบอุตสาหกรรม
5.ฝึกปฏิบัติการออกแบบลวดลาย การแยกสี การสร้างแม่พิมพ์
ตลอดจนการเตรียมสีใต้เคลือบ สีบนเคลือบและสีในเคลือบ
6.ฝึกปฏิบัติการพิมพ์รูปลอกด้วยสีใต้เคลือบสีบนเคลือบและสีในเคลือบสีเดียวและหลายสีระบบอุตสาหกรรม
7. เห็นคุณค่าการตกแต่งลวดลายด้วยรูปลอกเซรามิกชนิดต่าง ๆ
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ กระบวนการตกแต่งเครื่องปั้นดินเผาด้วยรูปลอกเซรามิก เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในกระบวนการผลิตรูปลอกเซรามิกที่ทันสมัยกับยุคของการเปลี่ยนแปลง เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาที่เกี่ยวข้อง
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของการตกแต่งลวดลายบนผิวชิ้นงาน การเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ การพิมพ์ระบบซิลส
กรีนบนกระดาษรูปลอกด้วยสีใต้เคลือบ สีบนเคลือบและสีในเคลือบ
การออกแบบลวดลาย การแยกสี การสร้างแม่พิมพ์ การเตรียมสีใต้เคลือบ บนเคลือบและในเคลือบ การพิมพ์รูปลอกสีใต้เคลือบ บนเคลือบและในเคลือบ สีเดียวและหลายสีระบบอุตสาหกรรม
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่ม ตามความต้องการ 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัยมีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคล การไม่เปิดเผยข้อมูล การไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางซอฟแวร์และไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา
1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละและซื่อสัตย์สุจริต
1.1.2 มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
1.1.3 มีภาวการณ์เป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อ ขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
1.1.4 เคารพสิทธิ และรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและ
ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.1.5 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
1.1.6 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2.1 บรรยายโดยใช้สื่อการสอน
1.2.2ให้นักศึกษาปฏิบัติงานการตกแต่งลวดลายตามงานที่มอบหมาย
1.2.3 อภิปรายกลุ่ม
1.3.1 สังเกตความสนใจ
1.3.2 ซักถามรายบุคคล
1.3.3 สังเกตการอภิปราย
1.3.4 พิจารณาจากงานที่มอบหมาย
1.3.5 สังเกตการปฏิบัติงาน
1.3.6 พิจารณาจากผลงานจากการปฏิบัติงานและจัดอันดับคุณภาพ
เข้าใจประวัติความเป็นมาของการตกแต่งลวดลายบนผิวชิ้นงาน เข้าใจหลักการเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ การพิมพ์ระบบซิลสกรีน
บนกระดาษรูปลอก ด้วยสีใต้เคลือบ สีบนเคลือบและสีในเคลือบเข้าใจหลักการออกแบบลวดลาย การแยกสี การสร้างแม่พิมพ์
การเตรียมสีใต้เคลือบ สีบนเคลือบและสีในเคลือบ และเข้าใจวิธีการพิมพ์รูปลอกด้วยสีใต้เคลือบสีบนเคลือบและสีในเคลือบสีเดียวและหลายสีระบบอุตสาหกรรม
เข้าใจประวัติความเป็นมาของการตกแต่งลวดลายบนผิวชิ้นงาน เข้าใจหลักการเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ การพิมพ์ระบบซิลสกรีน
บนกระดาษรูปลอก ด้วยสีใต้เคลือบ สีบนเคลือบและสีในเคลือบเข้าใจหลักการออกแบบลวดลาย การแยกสี การสร้างแม่พิมพ์
การเตรียมสีใต้เคลือบ สีบนเคลือบและสีในเคลือบ และเข้าใจวิธีการพิมพ์รูปลอกด้วยสีใต้เคลือบสีบนเคลือบและสีในเคลือบสีเดียวและหลายสีระบบอุตสาหกรรม
2.1.1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
2.1.2 ประเมินจากการปฏิบัติงาน
 
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ เพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น จากกระบวนการทำรูปลอกเซรามิก
3.2.1 บรรยายและให้นักศึกษาปฏิบัติโครงงานที่ให้วิเคราะห์และแก้ไขปัญหา
3.2.2 การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
3.3.1 สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ หรือวิเคราะห์แนวคิด
3.3.2 วัดผลจากการประเมินชิ้นงาน
3.3.3 สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหา
 
4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
4.1.2 พัฒนาความเป็นผู้นำและผู้ตามในการทำงานเป็นทีม
4.1.3 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน ธุรกิจ หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
4.2.1 จัดกิจกรรมกลุ่มในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายกลุ่มและรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยี การนำตัวอย่างการใช้เทคโนโลยีในการเรียนการสอน ธุรกิจ หรือ อ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
4.2.3 การนำเสนอรายงาน
5.1.1 ทักษะการคิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning และทำรายงานโดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
1.1.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
1.1.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 เข้าใจประวัติความเป็นมาของการตกแต่งลวดลายบนผิวชิ้นงาน เข้าใจหลักการเตรียมวัสดุ อุปกรณ์ การพิมพ์ระบบซิลสกรีน บนกระดาษรูปลอก ด้วยสีใต้เคลือบ สีบนเคลือบและสีในเคลือบ .เข้าใจหลักการออกแบบลวดลาย การแยกสี การสร้างแม่พิมพ์ การเตรียมสีใต้เคลือบ สีบนเคลือบและสีในเคลือบ เข้าใจวิธีการพิมพ์รูปลอกด้วยสีใต้เคลือบสีบนเคลือบและสีในเคลือบสีเดียวและหลายสีระบบอุตสาหกรรม สามารถออกแบบลวดลาย การแยกสี การสร้างแม่พิมพ์ ตลอดจนการเตรียมสีใต้เคลือบ สีบนเคลือบและสีในเคลือบ และสามารถปฏิบัติการพิมพ์รูปลอกด้วยสีใต้เคลือบสีบนเคลือบและสีในเคลือบสีเดียวและหลายสีระบบอุตสาหกรรม สอบถามเพื่อพิจารณาความเข้าใจในเนื้อหาหลังจบแต่ละหน่วยการเรียน สังเกตความสนใจ, ซักถามรายบุคคล สังเกตการอภิปราย, สังเกตการปฏิบัติงาน , พิจารณาจากงานที่มอบหมายและพิจารณาจากผลการปฏิบัติงานและจัดอันดับคุณภาพ 1-17 กิจกรรมการเรียนการสอน 70 % สอบกลางภาค 15% สอบปลายภาค 15%
โกมล รักษ์วงศ์. เอกสารคำสอนน้ำเคลือบ 2 . กรุงเทพมหานคร : สถาบันราชภัฎพระนคร, 2538.
.งานวิจัยเตาเผาและเครื่องปั้นดินเผา เตาเผาแม่น้ำน้อยเพื่อสืบสาน
และอนุรักษ์ศิลปวัตถุโบราณของจังหวัดสิงห์บุรี,กรุงเทพมหานคร : สถาบันราชภัฎพระนคร, 2538.
จีรพันธ์ สมประสงค์. เทคนิคการสร้างสรรค์ศิลปะเครื่องปั้นดินเผา. กรุงเทพมหานคร :
โอเดียนสโตร์, 2535.
ทวี พรหมพฤกษ์. เครื่องปั้นดินเผาเบื้องต้น..กรุงเทพมหานคร : สถาบันราชภัฎพระนคร,
2523.
. เตาและการเผา..กรุงเทพมหานคร : สถาบันราชภัฎพระนคร, 2524.
นวลน้อย บุญวงษ์. หลักการออกแบบ. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.
บริษัท คอมพาวค์ เคลย์จำกัด. คู่มือเครื่องหล่อแบบแรงดันสูง. ม.ป.ป.
ปรีดา พิมพ์ขาวขำ. เซรามิกส์. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.
ปุณณรัตน์ พิชญไพบูลย์. เครื่องปั้นดินเผาเทคนิคและวิธีการสร้างสรรค์. กรุงเทพมหานคร
: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539.
ไพจิตร อิ่งศิริวัฒน์. เนื้อดินเซรามิกส์. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์, 2541.
วิเชียร ศิริประภาวัฒน์. ดินและเนื้อดินปั้น(เอกสารโรเนียว). กรุงเทพมหานคร :
สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขต เพาะช่าง, 2528.
วันชัย เพี้ยมแตง. รายงานการฝึกอบรม ณ ประเทศญี่ปุ่น. เชียงใหม่ : สถาบันเทคโนโลยี
ราชมงคล วิทยาเขตภาคพายัพ, 2532.
ใบความรู้เรื่องการพิมพ์รูปลอกเซรามิกชนิดใต้เคลือบ
ใบความรู้เรื่องการพิมพ์รูปลอกเซรามิกชนิดบนเคลือบ
ใบความรู้เรื่องการพิมพ์รูปลอกเซรามิกชนิดในเคลือบ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษา ได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชา
1.3 ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลการประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการเรียนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้รายวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษาหรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงการพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อยและหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ โดยรวมได้ในรายวิชาดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนน จากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบและการให้คะแนนพฤติกรรม
จากการประเมินและทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิ์ผลรายวิชา ได้มีการวางแผนปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ