ศิลปหัตถกรรม

Craft

         1. เพื่อทราบแนวคิดการออกแบบศิลปหัตถกรรม
         2. เพื่อใช้ความคิดสร้างสรรค์ทำการออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมให้มีรูปแบบและประโยชน์ใช้สอยที่เหมาะสามารถผลิตได้
         3. เรียนรู้ถึงวิถีชีวิตการดำเนินชีวิตของชุมชนกับงานช่างและงานหัตถกรรม เพื่อนำไปสู่การสร้างงานศิลปะ
         4. ฝึกปฏิบัติการออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมเพื่อพัฒนาความรู้ความสามารถและนำไปประยุกต์ใช้ในการปฏบัติงานในวิชาชีพได้
       เพื่อเพิ่มพูนศักยภาพในการสะท้อนภาพความเป็นไทยบนพื้นฐานมนุษย์กับความหลากหลายและความแตกต่างกันทางวัฒนธรรม ทัศนคติการยอมรับในความแตกต่างอย่างยั่งยืน
       ศึกษาและฝึกปฏิบัติ วิวัฒนาการของงานหัตถกรรมที่สร้างสรรค์จากวัสดุชนิดต่างๆ การออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมตามลักษณะความสวยงาม รูปทรงและประโยชน์ใช้สอย
 -    อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้

ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต กตัญญูและเที่ยงธรรม มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบหน้าที่  มีความมุ่งมั่นในการทำงานให้สำเร็จ สุภาพอ่อนน้อม ถ่อมตน รู้จักกาละเทศะ ใจกว้าง เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์


มีน้ำใจ มีจิตอาสา จิตสาธารณะเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมและเห็นอกเห็นใจผู้อื่น มีความพอเพียง เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม  มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี

                  3. สอดแทรกประสบการณ์และเหตุการณ์จริงให้เกิดความเข้าใจระหว่างการเรียนการสอน
       1.  พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
       2.  พฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียน
       3.  ประเมินจากการเข้าร่วมกิจกรรมที่สาขาและมหาวิทยาลัยจัดขึ้น
       4.  ประเมินจากข้อสอบเชิงวิเคราะห์
            2.1.1 มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับรูปแบบแนวคิดศิลปหัตถกรรมร่วมสมัย            
            2.1.2 มีความรู้เรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลจากโจทย์ที่ได้รับมอบหมายได้                                                                                                     
            2.1.3 เรียนรู้รูปแบบและวัฒนธรรมเกี่ยวเนื่องในงานศิลปกรรมร่วมสมัย
            2.1.4 นำผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการออกแบบมาทำการออกแบบและเลือกใช้วัสดุที่เหมาะสมกับใช้สอยในงานออกแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมได้
            2.1.5 สามารถประยุกต์ใช้ซอฟแวร์เพื่อนำเสนอผลงานการออกแบบได้
          2.2.1 บรรยายประกอบการยกตัวอย่างด้วยสื่อการสอนมัลติมีเดีย
          2.2.2 มอบหมายงานให้ไปปฏิบัติเพื่อฝึกทักษะ
          2.2.3 ทัศนศึกษาเพื่อเก็บข้อมูลงานศิลปหัตถกรรมในปัจจุบัน
          2.2.4 เน้นการเรียนการสอนที่เป็น Active learning โดยการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
          2.2.5 วิเคราะห์ วิพากษ์ผลงานของนักศึกษาแต่ละชิ้น เพื่อเป็นการเรียนรู้ร่วมกันในชั้นเรียน
        2.3.1  สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
        2.3.2  ประเมินจากงานส่วนบุคคลที่ได้รับมอบหมาย         2.3.3  ประเมินผลจากผลงาน Final Project
พัฒนาความสามารถในการคิดเชิงสร้างสรรค์ พร้อมไปกับการคิดวิเคราะห์ตามหลักการและเหตุผล เพื่อให้การสร้างสรรค์นั้นตอบสนองการใช้งานจริง
    3.2.1  นำเสนอความรู้ตามหลักการทางทฤษฎี
    3.2.2  วิเคราะห์ปัญหาและแนวทางแก้ไขจากกรณีศึกษาซึ่งเกิดขึ้นจริง
    3.2.3  มอบหมายงานเพื่อให้คิดวิเคราะห์และความรู้จากประสบการณ์มาแก้ไข เพื่อพัฒนาต่อยอดงานในขั้นถัดไป
    3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
   3.3.1   พิจารณาจากผลงานการปฏิบัติงานหลังจากการเรียนรู้ทางทฤษฎีแล้ว
   3.3.2   สอบปลายภาคโดยเน้นการคิดวิเคราะห์และสามารถเชื่อมโยงเนื้อหาทางทฤษฎีมาสู่การออกแบบสร้างสรรค์ในทางปฏิบัติได้
   3.3.3   การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนและมีการคิดวิเคราะห์วิจารณ์ร่วมกัน
   4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
   4.1.2 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
   4.1.3 การมีปฎิสัมพันธ์ที่ดีต่อบุคคลรอบข้าง สามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมและสิ่งแวดล้อม
   4.1.4 กำหนดหน้าที่รับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนให้ชัดเจน
   4.1.5 เข้าใจบทบาทของความเป็นผู้นำและผู้ตาม มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และบทบาทของตน
   4.1.6 สามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าในสถานการณ์หลากหลายได้อย่างเหมาะสม
  4.2.1  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ การมีส่วนร่วมในการทำงานกลุ่ม
  4.2.2  กำหนดหน้าที่รับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนให้ชัดเจน
  4.3.1  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ และผลการปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมในการทำงานกลุ่ม
  4.3.2  ประเมินจากงานที่มอบหมาย  
  5.1.1   พัฒนาทักษะด้านการสื่อสารโดยการรายงานและการนำเสนอผลงานในชั้นเรียน
  5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง  การเขียน
  5.1.3   พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
  5.1.4   ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
  5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากแหล่งข้อมูลทางเว็ปไซต์ต่างๆประกอบการทำงานและนำเสนอรายงานการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการออกแบบพร้อมทั้งอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลอย่างถูกต้อง
  5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
  5.2.3   ใช้ Power Piont บรรยาย
          -  ฝึกทักษะการวิเคราะห์และแก้ปัญหาในกรณีเหตุการณ์สมมติ
          -  การแนะนำเทคนิคการสืบค้นและคัดเลือกแหล่งข้อมูล
   5.3.1   ตรวจสอบความถูกต้องของแนวคิด และวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้พื้นฐานความรู้ที่เรียนมา
   5.3.2   จากผลการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
   5.3.3   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
   5.3.4   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
   6.1.1 มีทักษะด้านออกแบบและใช้เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน
   6.1.2 มีทักษะในการทำหุ่นจำลอง และผลิตชิ้นงานศิลปหัตถกรรม
   6.1.3 มีทักษะด้านแนวคิดทางการออกแบบ ด้านความงาม ด้านประโยชน์ใช้สอย ความแข็งแรง ความปลอดภัย
   6.2.1 บรรยายประกอบการยกตัวอย่างด้วยสื่อการสอนมัลติมีเดีย การคิดวิเคราะห์ ถาม ตอบในชั้นเรียน
   6.2.2 มอบหมายงานให้ไปปฏิบัติงานงานศิลปหัตถกรรมจริงเพื่อเป็นการฝึกทักษะ
   6.2.3 วิเคราะห์ วิพากษ์ผลงานของนักศึกษาแต่ละชิ้น เพื่อเป็นการเรียนรู้ร่วมกันในชั้นเรียน
   ประเมินจากผลงานที่ได้ปฏิบัติงานของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย ตามกระบวนการออกแบบ การปฏิบัติงานและการนำเสนอผลงาน 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 43000003 ศิลปหัตถกรรม
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 - ได้รู้ถึงความเป็นมาและวิวัฒนาการของศิลปหัตถกรรมความหมายและบทบาทของงานศิลปหัตถกรรม - ประยุกต์ความรู้ที่ได้จากการศึกษามาใช้ในชีวิตประจำวันและการออกแบบ 1. สอบกลางภาค สอบปลายภาค 2. คะแนนจากการประเมินงานที่ได้รับมอบหมาย 1 - 17 60 %
2 ทักษะทางปัญญา - มีความสามารถในการใช้ระบบคิดที่วิเคราะห์ และวิพากษ์ได้ - มีความสามารถในการประยุกต์ความรู้ที่ได้รับเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น - มีความสามารถในการประเมินและสรุปประเด็น - มีความสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง 1. สอบกลางภาค สอบปลายภาค 2. คะแนนจากการประเมินงานที่ได้รับมอบหมาย 1 - 17 20%
3 - มีจิตสำนึกต่อภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย - มีความสามารถในการปรับตัวในการทำงานร่วมกับผู้อื่นและแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม - มีความสามารถในการวางแผนและรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ 1. คะแนนส่วนร่วมในชั้นเรียน 2. คะแนนจากการประเมินงานที่ได้รับมอบหมาย 1-7,9-16 10%
4 - มีความสามารถเลือกทักษะทางภาษาและรูปแบบ การสื่อสารที่เหมาะสม - มีความสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการรวบรวมข้อมูล ติดต่อสื่อสาร การจัดการและนำเสนอข้อมูลได้ - มีความสามารถในการสืบค้นความรู้ทางวิชาการที่เกี่ยวกับงานออกแบบศิลปหัตถกรรม 1. สอบกลางภาค สอบปลายภาค 2. คะแนนจากการประเมินงานที่ได้รับมอบหมาย 1 - 17 10 %
    1. เกรียงศักดิ์  เจริญวงศ์ศักดิ์.  การคิดเชิงสร้างสรรค์.4 กรุงเทพฯ  : ซัคเซสมีเดีย,2545.
    2. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.  ศิลปหัตถกรรมไทย. 2531 – 2532
    3. ปานฉัตท์ อินทร์คง. 2560. การออกแบบผลิตภัณฑ์วัฒนธรรม แนวคิด รูปแบบ และการวิเคราะห์. กรุงเทพฯ : อันลิมิต พริ้นติ้ง จำกัด.
    4. วัชรินทร์  จรุงจิตสุนทร.  หลักการและแนวคิดการออกแบบผลิตภัณฑ์. กรุงเทพฯ : แอ๊ปป้าพริ้นติงกรุ๊ปจำกัด,  2548
    5. วันดี  มาตสถิตย์.  การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์สิ่งทอชุมชน. มหาวิทยาลัยราชมงคลพระนคร. 2542
    6. วิบูลย์  ลี้สุวรรณ.  ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน. พิมพ์ครั้งที่ 4. คอมแพคท์พริ้น จำกัด, 2539
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจาก
นักศึกษาไว้ดังนี้
         1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
         1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
         2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
         2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
         2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
        3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
      ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลกาทดสอบย่อยและหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
         4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
         4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
    จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
        5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
        5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มา
จากงานวิจัยของอาจารย์