ศิลปะประจำชาติ

Traditional Thai Art

   เพื่อมีความรู้และเข้าใจประวัติความเป็นมาของศิลปกรรมไทย โดยศึกษาวิวัฒนาการ รูปแบบของงานศิลปกรรมอันมีผลมาจาก แนวความคิด คติ ความเชื่อและอิทธิพลที่มีต่องานออกแบบตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงปัจจุบัน เพื่อสามารถพัฒนาความรู้ความสามารถไปใช้ในการพัฒนาทักษะการสร้างสรรค์งานออกแบบได้
         1. เพื่อเพิ่มพูนศักยภาพในการสะท้อนภาพความเป็นไทยโดยเนื้อหาออกมาในรูปงานออกแบบ
         2. พัฒนารูปแบบการนำเสนอผลงานด้วยสื่อมัลติมีเดีย
       ปรับปรุงเนื้อหาให้มีความสอดคล้องกับสภาพปัจจุบันโดยผู้เรียนจะต้องมีความรู้ประวัติความเป็นมาของศิลปกรรมไทย  ด้านจิตรกรรมไทย ประติมากรรมไทย สถาปัตยกรรมไทย โดยศึกษาวิวัฒนาการ รูปแบบของงานศิลปกรรมอันมีผลมาจาก แนวความคิด คติ ความเชื่อและอิทธิพลที่มีต่องานออกแบบ ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงปัจจุบัน มาประยุกต์สร้างสรรค์ในงานออกแบบ
    ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับ พื้นฐานศิลปะประจำชาติประเภทต่างๆ จิตรกรรมไทย ประติมากรรมไทยสถาปัตยกรรมไทย นาฎกรรมและวรรณกรรมไทย
    Study and practice of the fundamentals of traditinal Thai Arts such as painting ,sculpture, architecture, dramatic works and literature.
 -   อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาภายในชั้นเรียน
 -   อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
     โดยอาจารย์ผู้สอนจะแจ้ง วัน - เวลาให้นักศึกษาทราบ
   พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
     1. ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต กตัญญูและเที่ยงธรรม
     2. มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบหน้าที่  มีความมุ่งมั่นในการทำงานให้สำเร็จ
     3. สุภาพอ่อนน้อม ถ่อมตน รู้จักกาละเทศะ ใจกว้าง เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่นรวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
    4. มีน้ำใจ มีจิตอาสา จิตสาธารณะเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมและเห็นอกเห็นใจผู้อื่น
    5. มีความพอเพียง
    6. เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม
    7. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
 
                1. บรรยายพร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม
                2. อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
            1.3.1   พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
            1.3.2   พฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียนและกิจกรรมที่สาขาฯจัดขึ้น
            1.3.3   สังเกตพฤติกรรมการทำงานเดี่ยวและกลุ่ม ร่วมกัน การแก้ปัญหา การเสียสละการบริหารจัดการงานส่วนรวม
            1.3.4   ใช้แบบประเมินผลงาน
            2.1.1 รู้ถึงอิทธิพลหลักอันเป็นเงื่อนไขของลักษณะไทย                                  
            2.1.2 รู้ที่มาของรูปแบบในงานศิลปะไทย                                                
            2.1.3 เรียนรู้รูปแบบและวัฒนธรรมเกี่ยวเนื่องในงานศิลปกรรมร่วมสมัย
            2.1.4 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ศิลปะและวิวัฒนาการการออกแบบรวมทั้งการนำไปประยุกต์ในงานออกแบบได้
            2.1.5 สามารถวิเคราะห์ปัญหาเข้าใจและอธิบายความสำคัญของประวัติศาสตร์ที่มีต่อการออกแบบได้
          2.2.1 บรรยายประกอบการยกตัวอย่างด้วยสื่อการสอนมัลติมีเดีย
          2.2.2 มอบหมายงานให้ไปปฏิบัติเพื่อฝึกทักษะ
          2.2.3 ทัศนศึกษาเพื่อเก็บข้อมูลความเป็นไทยในปัจจุบัน
          2.2.4 เน้นการเรียนการสอนที่เป็น Active learning โดยการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
          2.2.5 วิเคราะห์ วิพากษ์ผลงานของนักศึกษาแต่ละชิ้น เพื่อเป็นการเรียนรู้ร่วมกันในชั้นเรียน
       2.3.1  สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
       2.3.2  ประเมินจากการปฏิบัติงาน, ผลงาน
     พัฒนาความสามารถในการคิดเชิงสร้างสรรค์ พร้อมไปกับการคิดวิเคราะห์ตามหลักการและเหตุผล เพื่อให้การสร้างสรรค์นั้นตอบสนองการใช้งานจริง
   3.2.1  นำเสนอความรู้ตามหลักการทางทฤษฎี
   3.2.2  วิเคราะห์ปัญหาและแนวทางแก้ไขจากกรณีศึกษาซึ่งเกิดขึ้นจริง
   3.2.3  มอบหมายงานเพื่อให้คิดวิเคราะห์และความรู้จากประสบการณ์มาแก้ไข เพื่อพัฒนาต่อยอดงานในขั้นถัดไป
   3.2.4   การสะท้อนแนวคิดจากการประพฤติ
   3.3.1   พิจารณาจากผลงานการปฏิบัติงานหลังจากการเรียนรู้ทางทฤษฎีแล้ว
   3.3.2   สอบปลายภาคโดยเน้นการคิดวิเคราะห์และสามารถเชื่อมโยงเนื้อหาทางทฤษฎีมาสู่การออกแบบสร้างสรรค์ในทางปฏิบัติได้
   3.3.3   การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนและมีการคิดวิเคราะห์วิจารณ์ร่วมกัน
   4.1.1 พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน
   4.1.2 พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา
   4.1.3 การมีปฎิสัมพันธ์ที่ดีต่อบุคคลรอบข้าง สามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมและสิ่งแวดล้อม
   4.1.4 กำหนดหน้าที่รับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนให้ชัดเจน
   4.1.5 เข้าใจบทบาทของความเป็นผู้นำและผู้ตาม มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และบทบาทของตน
   4.1.6 สามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าในสถานการณ์หลากหลายได้อย่างเหมาะสม
   4.2.1  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ การมีส่วนร่วมในการทำงานกลุ่ม
   4.2.2  กำหนดหน้าที่รับผิดชอบของนักศึกษาแต่ละคนให้ชัดเจน
   4.3.1  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ และผลการปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมในการทำงานกลุ่ม
   4.3.2  ประเมินจากงานที่มอบหมาย  
   5.1.1  พัฒนาทักษะด้านการสื่อสารโดยการรายงานและการนำเสนอผลงานในชั้นเรียน
   5.1.2  พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง  การเขียน
   5.1.3  พัฒนาทักษะในการสืบค้น  ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
   5.1.4  ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
   5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์ โดยเน้นการนำตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
   5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
   5.2.3   ใช้ Power Piont บรรยาย
            -  ฝึกทักษะการวิเคราะห์และแก้ปัญหาในกรณีเหตุการณ์สมมติ
            -  การแนะนำเทคนิคการสืบค้นและคัดเลือกแหล่งข้อมูล
   5.3.1   ตรวจสอบความถูกต้องของแนวคิด และวิธีการแก้ปัญหาโดยใช้พื้นฐานความรู้ที่เรียนมา
   5.3.2   จากผลการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
   5.3.3   ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
   5.3.4   ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
   6.1.1 มีทักษะด้านแนวคิดในการนำเอาความคิดสร้างสรรค์ การออกแบบจากแรงบันดาลใจจากศิลปไทยประยุกต์ใช้ในการออกแบบงานเฟอร์นิเจอร์และผลิตภัณฑ์
    6.1.2 มีทักษะทางการออกแบบในด้านของความสวยงาม ด้านประโยชน์ใช้สอย
   6.2.1 บรรยายประกอบการยกตัวอย่างด้วยสื่อการสอนมัลติมีเดีย การคิดวิเคราะห์ ถาม ตอบในชั้นเรียน
   6.2.2 มอบหมายงานให้ไปปฏิบัติงานในการออกแบบเพื่อฝึกทักษะ
   6.2.3 วิเคราะห์ วิพากษ์ผลงานของนักศึกษาแต่ละชิ้น เพื่อเป็นการเรียนรู้ร่วมกันในชั้นเรียน
   6.3.1 ประเมินจากผลงานที่ได้ปฏิบัติงานของนักศึกษาที่ได้รับมอบหมาย ตามกระบวนการออกแบบ การปฏิบัติงานและการนำเสนอผลงาน 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BFACC401 ศิลปะประจำชาติ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ความรู้ - ประวัติความเป็นมาและพัฒนาการของศิลปะประจำชาติในมิติต่างๆโดยรวม ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน - ประยุกต์ความรู้ที่ได้จากการศึกษาประวัติศาสตร์และพัฒนาการของล้านนาให้เป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตร่วมกันในสังคมและในการออกแบบ 1. สอบกลางภาค สอบปลายภาค 2. คะแนนจากการประเมินงานที่ได้รับมอบหมาย 8,17/1-7,9-16 60 %
2 ทักษะทางปัญญา - มีความสามารถในการใช้ระบบคิดที่วิเคราะห์ และวิพากษ์ได้ - มีความสามารถในการประยุกต์ความรู้ที่ได้รับเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น - มีความสามารถในการประเมินและสรุปประเด็น - มีความสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง 1. สอบกลางภาค สอบปลายภาค 2. คะแนนจากการประเมินงานที่ได้รับมอบหมาย 8,17/1-7,9-16 20%
3 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ - มีจิตสำนึกต่อภาระหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย - มีความสามารถในการปรับตัวในการทำงานร่วมกับผู้อื่นและแก้ไขปัญหาสถานการณ์ต่างๆได้อย่างเหมาะสม - มีความสามารถในการวางแผนและรับผิดชอบในการเรียนรู้เพื่อพัฒนาตนเองทั้งด้านวิชาการและวิชาชีพ 1. คะแนนส่วนร่วมในชั้นเรียน 2. คะแนนจากการประเมินงานที่ได้รับมอบหมาย 1 - 7,9-16 10%
4 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ - มีความสามารถเลือกทักษะทางภาษาและรูปแบบการสื่อสารที่เหมาะสม - มีความสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการรวบรวมข้อมูล ติดต่อสื่อสาร การจัดการและนำเสนอข้อมูลได้ - มีความสามารถในการสืบค้นความรู้ทางวิชาการที่เกี่ยวกับศิลปะประจำชาติ 1. สอบกลางภาค สอบปลายภาค 2. คะแนนจากการประเมินงานที่ได้รับมอบหมาย 1 - 17 10 %
    1. คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ.สมุดภาพไตรภูมิ ฉบับกรุงศรีอยุธยา-ฉบับธนบุรี. เล่ม 1
    2. คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ.สมุดภาพไตรภูมิ ฉบับกรุงศรีอยุธยา-ฉบับธนบุรี. เล่ม 2
    3. ภานุพงศ์  เลาหะสม.  จิตรกรรมฝาผนังล้านนา.  กรุงเทพฯ : ด่านสุทธาการพิมพ์.  2541.
    4. เสน่ห์  หลวงสุนทร.  ศิลปไทย. กรุงเทพฯ : วาดศิลป์, 2552.
    5. สุรชัย  จงจิตงาม. ล้านนา Art&Culture. กรุงเทพฯ : มิวเซียมเพรส, 2525.
    6. สุเมธ   ชุมสาย ณ อยุธยา. ลักษณะไทย. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2525.
    7. สรัสวดีอ๋องสกุล.  ประวัติศาสตร์ล้านนา.  กรุงเทพฯ : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับชิ่ง.  2539.
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจาก
นักศึกษาไว้ดังนี้
        1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
        1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
       2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
       2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
       2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอนโดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
       3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
     ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชาได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อยและหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
       4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
       4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
      5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
      5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์