ลายคำล้านนา

Laikam Lanna

1.  ศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับลายคำล้านนา
2.  ศึกษาลักษณะรูปแบบเกี่ยวกับลายคำล้านนา
3.  ฝึกปฏิบัติการเขียนและการผูกลวดลายล้านนาพื้นฐาน เพื่อใช้ในลายคำล้านนา
4.  มีทักษะ แนวคิดกระบวนวิธีการทำลายคำล้านนาตามกฎเกณฑ์ของครูช่างโบราณ
5.  ฝึกปฏิบัติตามรองครูสู่การสร้างสรรค์ลายคำล้านนา
6.  เห็นคุณค่าในลายคำล้านนา
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนรายวิชา ลายคำล้านนา  สำหรับสอนนักศึกษาหลักสูตรศิลปบัณฑิต สาขาวิชาทัศนศิลป์ วิชาเอกศิลปะไทย ซึ่งมีเนื้อหาสาระการศึกษาและฝึกปฏิบัติที่เกี่ยวกับทักษะในการเขียนลวดลาย ผูกลวดลายไทย และตัวภาพในงานจิตรกรรมล้านนา ที่เป็นลักษณะรูปแบบของลายคำล้านนา ตามกฎเกณฑ์แบบโบราณ ด้วย ดินสอ พู่กัน ปิดทองคำเปลว และเทคนิคต่างๆในการสร้างสรรค์ลายคำล้านนาตามแนวความคิด คตินิยม ตามแบบครูช่างโบราณ ในรูปแบบห้องปฏิบัติงาน วิจารณ์และแนะนำเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม                                            
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับลายคำล้านนา จากเนื้อหาและรูปแบบ แนวคิดกระบวนวิธีการทำลายคำล้านนาแบบต่างๆ ตามรอยครูสู่การสร้างสรรค์
Laikam Lanna is studied and practiced from content, pattern, and different types of Laikam Lanna, in the form of an apprentice ship to the professor.
อาจารย์ผู้สอนจะให้คำปรึกษาและแนะนำทางวิชาการแก่นักศึกษานอกชั้นเรียน จำนวน 1 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ และสื่อสารให้นักศึกษาได้ทราบกำหนดเวลาล่วงหน้า
ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมจริยธรรม

  š ข้อ 1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม    ข้อ 2  มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)   ˜  ข้อ 3  มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ
กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
                    สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน รวมทั้งจรรยาบรรณทางด้านวิชาการและวิชาชีพ ในรายวิชา  สอนให้มีระเบียบวินัย  ฝึกให้รู้หน้าที่ในการทำงาน มีความรับผิดชอบ นำไปสู่การมีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ เช่น สามารถนำองค์ความรู้ ความสามารถ ในรายวิชาไปช่วยกิจกรรมงานของสถาบันและภายนอกมหาวิทยาลัย
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
                     การตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนด ระยะเวลาที่มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆในรายวิชา กิจกรรมของสถาบัน
ผลการเรียนรู้ด้านความรู้

   š ข้อ 1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง    ข้อ 2  มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)    ˜  ข้อ 3  มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม    ข้อ 4  มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)     
กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้
                   ใช้การเรียนการสอน โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการปฏิบัติงาน ทั้งนี้เป็นไปตามลักษณะของรายวิชาลายคำล้านนา ตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชาในแต่ละหน่วย สร้างความรู้ความเข้าใจสิ่งที่เป็นลักษณะของลายคำล้านนากับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมล้านนา
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้
                    ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและผลการปฏิบัติงานของนักศึกษาในด้านต่าง ๆ คือ
                  2.3.1 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
                  2.3.2 ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติในชั้นเรียนตามที่ได้รับมอบหมาย
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา 

   š ข้อ 1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ    ข้อ 2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)    š ข้อ 3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้    ˜ ข้อ 4 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน
กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
                  การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล   การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียนอธิบายถ่ายทอดองค์ความรู้หลักทฤษฏีให้สอดคล้องกับหลักการฝึกปฏิบัติ เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเข้าใจแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ตามกระบวนการ
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
                  ประเมินจากการวัดผลสอบกลางภาคและปลายภาคการศึกษา สามารถคิดและสร้างสรรค์ผลงานประเมินจากผลงานการปฏิบัติงานนำเสนอผลงานของนักศึกษาในแต่ละหน่วย  และการรวบรวมผลงานปฏิบัติการตลอดทั้งเทอม  
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความรับผิดชอบ

   š ข้อ 1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี    ˜ ข้อ 2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ    ข้อ 3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
 (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)
กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ    
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม  การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่นการมอบหมายงานให้ฝึกปฏิบัติของแต่ละหน่วยองค์ความรู้ โดยใช้หลักทฤษฏีมาปรับใช้กับการปฏิบัติผลงานตามระยะเวลาที่ผู้สอนกำหนด
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
                ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการฝึกปฏิบัติงานทั้งเดี่ยวและกลุ่ม ความรับผิดชอบต่องานของตนเองและกลุ่ม การส่งงานตรงตามเวลาที่กำหนด
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

   š ข้อ 1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ    ˜ ข้อ 2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ    ข้อ 3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)
กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ให้นักศึกษาค้นคว้าข้อมูลโดยอ้างอิงแหล่งข้อมูล ที่ต้องอาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยการแนะนำที่เหมาะสมกับนักศึกษา 
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
           ประเมินจากการสืบค้นข้อมูล โดยการเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมในการค้นหาข้อมูล ประเมินจากการอธิบายและการนำเสนอ
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย  

  š ข้อ 1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ   ˜  ข้อ 2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง                              ข้อ 3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน (ไม่มีการรับผิดชอบหรือการประเมิน)
กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
               ใช้วิธีการสอนฝึกปฏิบัติ ด้วยวิธีการคัดลอกตามแบบ ทำตามใบงาน และการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตามรูปแบบของตนเอง
กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะพิสัย
               ประเมินจากผลการปฏิบัติงานและผลงานสรุปของแต่ละหน่วยองค์ความรู้
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา ๑. คุณธรรม จริยธรรม ๒. ความรู้ ๓. ทักษะทางปัญญา ๔. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ๕. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ๖. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 2 มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 3 มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ 1 รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง 2 มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ 3 มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 4 มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา 1 สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ 2 สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 3 สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ 4 มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน 1 มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและมนุษยสัมพันธ์ที่ดี 2 มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นอย่างมีประสิทธิภาพ 3 สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง 1 สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2 สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3 มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม 1 มีทักษะในการทำตามแบบและปฏิบัติงานได้ตามข้อแนะนำ 2 มีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง 3 มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
1 BFAVA151 ลายคำล้านนา
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 การนำเสนอผลงานครั้งที่ 2,3,4,5,6,7,8 3,4,5,6,7,8,9 20%
2 สอบกลางภาค 9 10%
3 การนำเสนอผลงานครั้งที่ 10,11,12,13,14,15,16 11,12,13,14,15 16,17 30%
4 สอบปลายภาค 17 10%
5 ประเมินการนำเสนอในแต่ละครั้ง การนำเสนอรวบรวมเป็นรูปเล่ม การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 20%
6 จิตพิสัย ความสนใจ การเรียนสม่ำเสมอ การแต่งกายสะอาด การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
หนังสือ ลายคำน้ำแต้ม โดย ลิปิกร มาแก้ว
หนังสือ ลายคำล้านนา โดย สุรพล ดำริห์กุล
หนังสือ ลายรดน้ำ โดย อภิวันทน์ อดุลยพิเชฏฐ์
หนังสือ ศึกษาศิลปะลายไทย  โดย มานะ ทองสอดแสง
หนังสือ เส้นสายลายไทย ชุด ลวดลายไทยพื้นฐาน โดย เศรษฐมันตร์ กาญจนกุล
แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับลวดลายไทย ลวดลายล้านนา
- วารสาร ศิลปะทั้งในและต่างประเทศ เช่น ลายล้านนา ลายไทย-ภาพไทย , fine arts,
- สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซต์ ที่เกี่ยวข้องกับลายล้านนา ลายไทย
ประเมินรายวิชาในระบบของนักศึกษาหลังจากจบรายวิชา
- การสังเกตการณ์ และทีมผู้สอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
- การประชุมเชิงปฏิบัติการและการสัมมนาเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
กระบวนการที่ใช้ในการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ของรายวิชา
- ทวนสอบจากคะแนนข้อสอบ หรืองานที่มอบหมาย จากการสุ่มตัวอย่างผลงานของนักศึกษาจากอาจารย์ต่างหลักสูตร
- ตั้งคณะกรรมการในสาขาตรวจสอบผลการประเมินและกระบวนการการให้คะแนน
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลสอบทวนมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
- สลับเปลี่ยนอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้จากมุมมองทัศนคติ ที่หลากหลาย