ฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกร

Physics 1 for Engineers

1.วัตถุประสงค์ของรายวิชา: เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1 เข้าใจเรื่อง เวกเตอร์ แรงและการเคลื่อนที่ โมเมนตัมและพลังงาน ระบบอนุภาค สมบัติเชิงกลของสสาร การเคลื่อนที่วัตถุของแข็งเกร็ง การเคลื่อนที่แบบออสซิลเลต กลศาสตร์ของไหล ความร้อนและอุณหพลศาสตร์เบื้องต้น คลื่นและคลื่นเสียง
1.2 มีทักษะในการแก้ปัญหาโจทย์ทางวิทยาศาสตร์
1.3 ประยุกต์วิชา ฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกรกับชีวิตประจำวัน วิชาชีพหรือเทคโนโลยีใหม่ๆได้
1.4 มีเจตคติต่อวิทยาศาสตร์โดยใช้ความรู้ทางฟิสิกส์
มีการปรับปรุงเนื้อหาเพิ่มเติมเกี่ยวกับรายละเอียดเนื้อหาของวิชาที่ให้นักศึกษาจำเป็นต้องเรียนรู้เพื่อใช้เป็นพื้นฐานของการเรียนในวิชาชีพต่อไป ลาเพิ่มการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยให้นักศึกษาค้นคว้างานวิจัยใหม่ๆ ซึ่งสอดคล้องกับเนื้อหาในรายวิชา และให้นักศึกษาสร้างสิ่งประดิษฐ์ซึ่งมีการนำความรู้ทางด้านวิชานี้ไปประยุกต์ใช้
ศึกษาเกี่ยวกับกลศาสตร์ของอนุภาควัตถุแข็งเกร็ง สมบัติสสาร กลศาสตร์ของไหล ความร้อน การสั่นและคลื่น โดยจะเน้นที่หลักการที่สำคัญทางฟิสิกส์ การสร้างทักษะในการวิเคราะห์และคำนวณแก้ปัญหาทางด้านวิศวกรรม
The study of mechanics of particles and rigid body, properties of matter, fluid mechanic, heat, vibration and waves. Teaching focuses on the main principles of physics including with skill of analytic and calculation for solving engineering problems.
    3.1 วันจันทร์- ศุกร์ เวลา 16.00 – 17.00 น.    ห้อง ศษ1311 ,ศษ 1202
    3.2 ช่องทางออนไลน์ เช่น line, facebook ฯลฯ ตลอด  24 ชัวโมง
    3.3 อ.ชัยยุทธ      นนทะโคตร  086-1860931
          อ.สมอ         บุญพันธ์       084-1730162
          อ.รัตนาพร     นรรัตน์        091-8499661
          อ.ถาวร         อินทโร        085-0362183
          อ.สุริยงค์       ประชาเขียว  0ุ62-8898878
š1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
˜1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
˜1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
š1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
 
1. การเรียนแบบแก้ปัญหา (Problem-solving)
2. การเรียนแบบสร้างแผนผังความคิด (Concept Mapping)
3. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
4. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
5. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
7. การเรียนการสอนแบบบูรณาการ แบบ Shoreline Method
 
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การนำเสนองาน
3.โครงการกลุ่ม
4.การสังเกต
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
š2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
2. การสอนแบบการตั้งคำถาม (Questioning) 
3. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
4. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
5. การสอนแบบสถานการณ์จำลอง (Simulation)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
7. การเรียนการสอนแบบบูรณาการ แบบ Shoreline Method
8. การสอนแบบบรรยาย  
1.งานที่ให้ปฏิบัติตามสภาพจริง
2.การสัมภาษณ์
3.การนำเสนองาน
4.ข้อสอบอัตนัย
š3.1 มีทักษะปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
˜3.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างมีระบบ
1. การสอนแบบสถานการณ์จำลอง (Simulation)
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
3. การสอนแบบ  Brain  Storming Group
1.การสังเกต
2.การนำเสนองาน
3.โครงการกลุ่ม
š4.1  มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
š4.2  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
˜4.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
š4.4  สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
1. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มใหญ่ (Whole - Class Discussion)
2. การสอนแบบการอภิปรายกลุ่มย่อย (Small - Group Discussion)
3. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
4. การสอนโดยใช้เกม (Games
5. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
6. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
7. การเรียนการสอนแบบบูรณาการ แบบ Shoreline Method
1.สถานการณ์จำลอง
2.โครงการกลุ่ม
3.การสังเกต
4.การนำเสนองาน
5.การประเมินโดยเพื่อน
š5.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
˜5.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
š5.3 สามารถใช้ภาษาไทยหรือต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. กระบวนการสืบค้น (Inquiry Process)
โดยให้นักศึกษาใช้ PowerPoint และหาข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
3. การสอนโดยใช้เทคนิคการระดมพลังสมอง (Brainstorming)
4. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
5. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
6. การเรียนการสอนแบบบูรณาการ แบบ Shoreline Method
7. การสอนแบบการจัดการเรียนการสอนที่ใช้เทคโนโลยี (Technology - Related Instruction)
1.สถานการณ์จำลอง
2.โครงการกลุ่ม
3.การสังเกต
4.การนำเสนองาน
5.การประเมินโดยเพื่อน
š6.1 สามารถปฏิบัติงานได้ด้วยตนเอง
š6.2สามารถปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องแม่นยำ
š6.3สามารถปฏิบัติงานได้โดยอัตโนมัติเป็นธรรมชาติ
1. เทคนิคการเรียนรู้แบบร่วมมือ (Cooperative Learning)
2. การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม  (Participatory Learning)
3. การเรียนการสอนแบบบูรณาการ แบบ Shoreline Method โดยนักศึกษาแบ่งกลุ่มกันทำสิ่งประดิษฐ์โดยนำความรู้ที่ได้จากฟิสิกส์ 1 ไปประยุกต์ใช้กับงานของตน
1.สถานการณ์จำลอง
2.โครงการกลุ่ม
3.การสังเกต
4.การนำเสนองาน
5.การประเมินโดยเพื่อน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ด้านทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 FUNSC101 ฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 -ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา -ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา -ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน 1-15 10 %
2 -ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ -ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา -ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา -ด้านทักษะปฏิบัติ 1.การนำเสนองาน 2.การรายงานที่มอบหมาย 3.การบ้าน 4.งานกลุ่ม 5.การสอบย่อย 1-15 30 %
3 -ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) -ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา -ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา การสอบกลางภาค การสอบปลายภาค 8, 17 60%
Young and Freedman ปิยะพงษ์ สิทธิคง (แปลและเรียบเรียง), ฟิสิกส์ระดับอุดมศึกษา เล่ม 1, บริษัท เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า จำกัด, 2547. Young and Freedman, University Physics with modern physics, 12 ed., Pearson Addison-Wesley, San Francisco, 2007. เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกร FUNSC101
ก่องกัญจน์ ภัทรากาญจน์และธนกาญจน์ ภัทรกาญจน์, ฟิสิกส์ 1 ตัวอย่างและโจทย์พร้อมคำเฉลย สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554. พงษ์ศักดิ์ ชินนาบุญ, ฟิสิกส์เล่ม 1 มหาวิทยาลัยฉบับเสริมประสบการณ์, บริษัทวิทยพัฒน์ จำกัด, 2550. ฟิสิกส์ 1 สำหรับวิศวกร http://www.rmutphysics.com/
http://www.vcdforstudy.com/journal.html http://www.youtube.com/ http://www.whydontyoutrythis.com/ http://www.iflscience.com/ https://www.coursera.org/course/phys1
ให้นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ซึ่งรวมถึง วิธีการสอน การจัดกิจกรรมในและนอกห้องเรียน สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ซึ่งมีผลกระทบต่อการเรียนรู้ และผลการเรียนรู้ที่ได้รับ และเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัย
การประเมินการสอน โดยคณะกรรมการประเมินการสอนที่แต่งตั้งโดยภาควิชา จากการสังเกตขณะสอน และการสัมภาษณ์ตัวแทนนักศึกษา
แผนกวิชากำหนดให้อาจารย์ผู้สอนทบทวนและปรับปรุงกลยุทธ์และวิธีการสอนจากผลการประเมินประสิทธิผลของรายวิชา มีการประชุมอาจารย์ในแผนกวิชาเพื่อหารือปัญหาการเรียนรู้ของนักศึกษาและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
แผนกวิชามีคณะกรรมการประเมินการสอนทำหน้าที่ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยการสุ่มประเมินข้อสอบและความเหมาะสมของการให้คะแนน ทั้งคะแนนดิบและระดับคะแนน ของรายวิชา 60% ของรายวิชาทั้งหมดในความรับผิดชอบของแผนกวิชา ภายในรอบเวลาหลักสูตร
แผนกวิชามีระบบการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา โดนพิจารณาจากผลการประเมินการสอนโดยนักศึกษา ผลการประเมินโดยคณะกรรมการประเมินการสอนของแผนกวิชา การรายงานรายวิชาโดยอาจารย์ผู้สอน หลังการทบทวนประสิทธิผลของรายวิชา อาจารย์ผู้สอนรับผิดชอบในการทบทวนเนื้อหาที่สอนและกลยุทธ์การสอนที่ใช้ และนำเสนอแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาในรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา เสนอต่อหัวหน้าแผนกวิชา เพื่อนำเข้าที่ประชุมอาจารย์ประจำหลักสูตรพิจารณาให้ความคิดเห็นและสรุปวางแผนพัฒนาปรับปรุงสำหรับใช้ในปีการศึกษาถัดไป