การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการติดต่อสื่อสารทางธุรกิจ 2

English Correspondence for Business 2

    เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ ความเข้าใจและทักษะในการเขียนจดหมายธุรกิจประเภทต่างๆ
 เพื่อให้มีเนื้อหาสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงานในปัจจุบันมากขึ้น
ฝึกทักษะการเขียนภาษาอังกฤษที่ใช้ในการติดต่อสื่อสารทางธุรกิจ ได้แก่ บันทึกข้อความทางธุรกิจ (Memo) จดหมายสั่งสินค้า จดหมายเสนอสินค้า จดหมายร้องเรียนและประนีประนอม จดหมายทวงหนี้ และการเขียนรายงานทางธุรกิจต่างๆ เป็นต้น
 -    อาจารย์ประจำรายวิชา  ประกาศเวลาให้คำปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
        โดยแสดงความรับผิดขอบหลัก (      ) และความรับผิดชอบรอง (      )

มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจฯ   ข้อที่ตรงกับของสาขา
บริหารธุรกิจ ด้านคุณธรรมจริยธรรม 1.มีความรู้ความเข้าใจในหลักจริยธรรม คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพทางธุรกิจมีจิตสำนึกสาธารณะตระหนักในคุณค่าของคุณธรรมจริยธรรมเสียสละ ไม่เอารัดเอาเปรียบซื่อสัตย์สุจริตทั้งต่อตนเองและผู้อื่น 5.1.1,
5.1.4 2’  มีความพอเพียงมีวินัย ขยัน อดทน เพียรพยายาม ตรงต่อเวลา รับผิดชอบต่อตนเอง วิชาชีพ สังคมส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม มีความสำนึกรับผิดชอบต่อส่วนรวม และสิ่งแวดล้อม 5.1.1,
5.1.2 3.   มีความเคารพต่อกฎระเบียบ และข้อบังคับต่าง ๆ ขององค์กรและสังคม 5.1.3 4.  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ - 5.  มีทัศนคติที่ดีต่อวิชาชีพเคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ -   6.  สามารถวิเคราะห์ผลกระทบจากการใช้คอมพิวเตอร์ต่อบุคคล องค์กร และสังคม -      

 
        ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1.  จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะบำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม   ü 2.  สอดแทรกหลักจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพในเนื้อหารายวิชา     3.  ปลูกฝังให้นักศึกษามีวินัยโดยเน้นการเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนดตลอดจนการแต่งกาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย   ü 4.  กำหนดงานเป็นกลุ่ม เน้นการเป็นผู้นำกลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม เน้นความมี ส่วนร่วม และแสดงความคิดเห็น     5.  เปิดโอกาสให้นักศึกษาจัดกิจกรรมที่แสดงถึงการมีเมตตา กรุณา ความเสียสละ และการทำประโยชน์ให้กับชุมชน   ü 6.  สอนโดยใช้กรณีศึกษาและอภิปรายร่วมกัน     7.  อธิบายระเบียบลงโทษผู้ทุจริตการสอบโดยการสอดแทรกในการสอน  
        ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง

 รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ   1)  การเข้าร่วมกิจกรรมในรายวิชาที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม     2)  การเข้าเรียนให้ตรงต่อเวลา ตลอดจนการแต่ง กาย ที่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย   ü 3)  การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที มอบหมาย และการเข้าร่วมกิจกรรม     4)  การสังเกตพฤติกรรมในการทำงานเป็นกลุ่ม และความมีส่วนร่วมในการนำเสนอผลงาน   ü 5)  ความเอื้อเฟื้อหรือความมีน้ำใจต่อเพื่อนและครูอาจารย์     6)  ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ   ü 7)  ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย  

 
 
             โดยแสดงความรับผิดขอบหลัก  (     ) และความรับผิดชอบรอง (      )

มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจฯ ข้อที่ตรงกับของสาขา
บริหารธุรกิจ ด้านความรู้ 1.  มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และการปฏิบัติที่สำคัญในเนื้อหาของสาขาวิชาที่ศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องได้อย่างเหมาะสม และพัฒนาความรู้ ติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการได้อย่างต่อเนื่อง 5.2.1,
5.2.2,
5.2.3 2. มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญของศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง ประยุกต์ใช้ความรู้ ทักษะ ในการวิเคราะห์ปัญหา เข้าใจและอธิบายความต้องการที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่ศึกษา รวมทั้งประยุกต์ความรู้ ทักษะ และสามารถเลือกใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการแก้ปัญหาและการดำรงชีวิตประจำวัน 5.2.2   3.  มีความรู้และความเข้าใจในสาระสำคัญเกี่ยวกับกระบวนการบริหารธุรกิจ ในด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผลการดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ 5.2.3   4.  มีความรู้เกี่ยวกับความก้าวหน้าทางวิชาการและวิชาชีพด้านบริหารธุรกิจ รวมทั้งมีความเข้าใจในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงและผลกระทบอย่างเท่าทัน 5.2.4   5.  สามารถวิเคราะห์ ออกแบบ ติดตั้ง ปรับปรุงและ/หรือประเมินระบบ องค์ประกอบต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ให้ได้ตรงตามข้อกำหนด -   6.  สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและวิวัฒนาการคอมพิวเตอร์ รวมทั้งการนำไปประยุกต์ -   7.  รู้ เข้าใจ และสนใจพัฒนาความรู้ ความชำนาญทางคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง -   8. มีความรู้ในแนวกว้างของสาขาวิชาที่ศึกษาเพื่อให้เล็งเห็นการเปลี่ยนแปลง และเข้าใจผลกระทบของเทคโนโลยีใหม่ ๆ ที่เกี่ยวข้อง -   9.  มีประสบการณ์ในการพัฒนาและ/หรือการประยุกต์ซอฟต์แวร์ที่ใช้ในงานได้จริง -

 
 
 
        ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ ü 1.  จัดรูปแบบการเรียนการสอนที่หลากหลายโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญตามลักษณะ ของรายวิชา และเนื้อหาสาระของรายวิชานั้น ๆ   ü 2.  จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริงโดยมอบหมายให้ทำรายงาน โครงงานและนำเสนอหน้าชั้นเรียน     3.  จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้ประยุกต์ใช้ความรู้ในการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง     4. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นำเสนอ และถ่ายทอดความรู้แก่เพื่อน               ร่วมชั้นเรียนหรือผู้สนใจทั่วไป     5.  ใช้การเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบโดยให้ความรู้ทางด้านทฤษฎีควบคู่กับการปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง   ü 6.  การบรรยายภายในชั้นเรียน และการถาม – ตอบ  
         ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ ü 1.  การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน     2.รายงานสรุปองค์ความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมกิจกรรมหรือการนำความรู้ไปตอบในแบบทดสอบ     3.  ผลการฝึกปฏิบัติในสภาพแวดล้อมจริง หรือสถานการณ์จริง   ü 4.  ผลงานจากการค้นคว้าและการนำเสนอ   ü 5.  ประเมินจากงานที่มอบหมายนักศึกษา     6.  ประเมินจากการนำเสนอผลงาน   ü 7. ประเมินผลการเรียนรู้ระหว่างภาค เช่น การบ้าน งานที่มอบหมาย รายงาน  การทดสอบย่อย การนำเสนอรายงาน การค้นคว้า หน้าชั้นเรียน  
โดยแสดงความรับผิดขอบหลัก (      ) และความรับผิดชอบรอง (      )

มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจฯ ข้อที่ตรงกับของสาขา
บริหารธุรกิจ ทักษะทางปัญญา 1. สามารถสืบค้น ตีความ วิเคราะห์ข้อมูล และประเมินสารสนเทศ จากหลายแหล่ง เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ตามสถานการณ์แวดล้อมทางธุรกิจ และการตัดสินใจอย่างเหมาะสมด้วยตนเอง 5.3.1 2.  สามารถคิดค้นทางเลือก วิเคราะห์ทางเลือกและผลกระทบ จากทางเลือกอย่างรอบด้าน มีความสามารถในการตัดสินใจเลือกทางเลือกที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้เกิดการได้เปรียบทางการแข่งหันทางธุรกิจ 5.3.3   3.  คิดอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ สร้างสรรค์ และมีเหตุผล สามารถบูรณาการความรู้จากสาขาวิชาชีพที่ศึกษา และประสบการณ์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาทางธุรกิจและสถานการณ์ทั่วไป 5.3.2 4.  สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ -   5.  สามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างเหมาะสม -

 
ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1.จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการ  การเรียนการสอนกับการทำงาน     2.  จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์และทักษะการแก้ไขปัญหาอย่างเป็นระบบ  จากกรณีศึกษา   ü 3. กรณีศึกษาทางการจัดการ โครงงาน งานวิจัย และกำหนดให้นักศึกษาวางแผน              การทำงานเป็นทีม   ü 4.  การศึกษาค้นคว้า และรายงานทางเอกสาร และรายงานหน้าชั้นเรียน     5.  การมอบหมายงาน การแก้ปัญหาจากกรณีศึกษา หรือสถานการณ์จำลอง   ü 6.  การสอนแบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ที่เปิดโอกาสให้นักศึกษามีส่วนร่วมในชั้นเรียน และมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น     7.  จัดให้ในรายวิชา มีกิจกรรมที่เสริมสร้างการพัฒนาทักษะทางเชาว์ปัญญา ความคิด   การวิเคราะห์ และสังเคราะห์ด้านต่าง ๆ ทั้งในสาขาและนอกสาขา  

 
        ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ   1.  ประเมินตามสภาพจริงจากผลงานและการปฏิบัติของนักศึกษา     2.  การเลือกใช้ภาษาเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา และสื่อสารในบริบทต่าง ๆ     3.  การใช้ภาษาของนักศึกษาในบทบาทสมมติหรือสถานการณ์จำลอง     4.  ประเมินจากการนำเสนอโครงงาน รายงานการวิจัย อภิปรายกรณีศึกษา     5.  ประเมินจากการทดสอบโดยใช้แบบทดสอบ โดยออกข้อสอบที่ให้นักศึกษาแก้ปัญหา อธิบายแนวคิดการแก้ปัญหา และวิธีการแก้ปัญหาโดยการประยุกต์ความรู้ ที่เรียนมา ซึ่งจะต้องหลีกเลี่ยงข้อสอบที่เป็นการเลือกตอบที่ถูกมาคำตอบเดียวจากกลุ่มคำตอบที่ให้มา     6.  ประเมินจากการรายงานผลการศึกษาค้นคว้า โครงงาน โดยการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและเอกสารรายงาน     7.  ประเมินจากกรณีศึกษาหรือสถานการณ์จำลอง     8.  ประเมินจากผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา  
โดยแสดงความรับผิดขอบหลัก (      ) และความรับผิดชอบรอง (      )

มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจฯ
  ข้อที่ตรงกับของสาขา
บริหารธุรกิจ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1.  มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตาม สามารถทำงานเป็นทีมอย่างมีความรับผิดชอบ ยอมรับฟัง และเคารพความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม และสามารถปรับตัวเชิงวิชาชีพได้ 5.4.1 2.  มีความสามารถในการแสดงความริเริ่ม แสดงความคิดเห็นต่าง และแสดงความคิดเห็นใหม่ ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์ เอื้อต่อการแก้ไขปัญหาของทีมสามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม 5.4.2 3.  มีความสามารถในการประสานงาน การมอบหมายบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบพร้อมทั้งให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกต่อเพื่อนร่วมงาน ในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในบทบาทของผู้นำ หรือ        ในบทบาทของผู้ร่วมทีมทำงาน - 4.  มีความรับผิดชอบการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเองและทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง 5.4.3   5.  สามารถสื่อสารทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศกับกลุ่มคนหลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ     6.  มีความรับผิดชอบในการกระทำของตนเองและรับผิดชอบงานในกลุ่ม -   7.  สามารถเป็นผู้ริเริ่มแสดงประเด็นในการแก้ไขสถานการณ์ทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พร้อมทั้งแสดงจุดยืนอย่างพอเหมาะทั้งของตนเองและของกลุ่ม -
        ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ ü 1.  สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับหลักมนุษย์สัมพันธ์และมารยาททางสังคมที่ดีของวัฒนธรรมต่างๆ ในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้อง   ü 2.  จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมเป็นกลุ่ม โดยเปลี่ยนบทบาทให้มีโอกาสเป็นทั้งผู้นำและผู้ตาม     3.  จัดให้นักศึกษาได้ทำกิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบและ
การอภิปรายเพื่อหาข้อสรุป     4.  มอบหมายให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคมร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง   ü 5.  มอบหมายงานที่ต้องใช้ทักษะด้านการสื่อสาร การติดต่อประสานงานกับบุคคล อื่น ๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันการศึกษา   ü 6.  มีการมอบหมายงานที่ต้องใช้การระดมความคิดและร่วมกันทำงาน ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วมมือ  

 
        ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ   1.  การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค   ü 2.  พฤติกรรมการทำกิจกรรมกลุ่มของนักศึกษา     3.  พฤติกรรมและผลการประเมินการให้บริการวิชาการของนักศึกษา     4.  การรายงานหน้าชั้นเรียนโดยอาจารย์และนักศึกษา   ü 5.  พฤติกรรม ภาวการณ์เป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี   ü 6.  สังเกตพฤติกรรมการระดมสมอง (Brainstorming)   ü 7.  สังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน และจากการรายงานหน้าชั้นเรียน     8.  ใช้ผลการประเมินจากการฝึกงานและการสหกิจศึกษา  

 
 
 
 
        โดยแสดงความรับผิดขอบหลัก (      ) และความรับผิดชอบรอง (      )

มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจฯ
  ข้อที่ตรงกับของสาขา
บริหารธุรกิจ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ   1. สามารถประยุกต์ใช้หลักคณิตศาสตร์ สถิติ การวิเคราะห์เชิงปริมาณ มาใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจทางธุรกิจ และชีวิตประจำวัน 5.5.1 2.สามารถสื่อสารเพื่ออธิบาย และสร้างความเข้าใจ โดยใช้รูปแบบของสื่อเทคนิควิธีการ เครื่องมือสื่อสารและเทคโนโลยีได้อย่างถูกต้อง ทั้งในรูปแบบการเขียนรายงานและการนำเสนอด้วยวาจาที่เหมาะสมอย่างมีประสิทธิภาพและสร้างสรรค์ 5.5.3 3.สามารถสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศที่จำเป็นต่อการทำธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.5.2 4.มีทักษะการใช้เครื่องมือที่จำเป็นที่มีอยู่ในปัจจุบันต่อการทำงานที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ -   5.  สามารถแนะนำประเด็นการแก้ปัญหาโดยใช้สารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อปัญหาที่เกี่ยวข้องอย่างสร้างสรรค์ -   6.สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม และสามารถนำเทคโนโลยีไปใช้สนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5.5.4

 
 
  ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1.สอดแทรกความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร การค้นคว้าข้อมูล และการนำเสนอผลงานในเนื้อหาของรายวิชาที่เกี่ยวข้อง   ü 2.  จัดกิจกรรมให้นักศึกษาใช้เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ จากกรณีศึกษา     3.  จัดให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย     4.  จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม     5.ให้นักศึกษาได้เรียนรู้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ               ในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลข ได้   ü 6.  มีการนำเสนอผลงานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ  

 
 ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ   1.  การทดสอบย่อย กลางภาคและปลายภาค   ü 2.  ผลงานของนักศึกษาจากงานที่มอบหมายให้แต่ละบุคคล และเลือกการนำเสนอด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่างเหมาะสม   ü 3. พฤติกรรม การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน และความสามารถในการใช้ภาษา              การสื่อสาร ของนักศึกษาเพื่อสื่อสาร     4.  ประเมินจากการอธิบายหลักการสืบค้นข้อมูลด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ     5.  ประเมินจากการสรุป และอภิปรายงาน/กิจกรรม ที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ตัวเลข ซึ่งได้รับมอบหมายร่วมกัน  

 
 
 
 
        โดยแสดงความรับผิดขอบหลัก (      ) และความรับผิดชอบรอง (      )

มาตรฐานผลการเรียนรู้ของ สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจฯ
  ทักษะการปฏิบัติงานในวิชาชีพได้อย่างมืออาชีพ (Hands-on)   1.  สามารถปฏิบัติงานโดยนำองค์ความรู้มาบูรณาการร่วมกับศาสตร์ที่ศึกษาได้อย่างเหมาะสม   2.  สามารถปฏิบัติงานโดยใช้องค์ความรู้และประสบการณ์ในศาสตร์ที่ศึกษามาใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของธุรกิจ นำมาใช้แก้ไขปัญหา ค้นคว้าวิจัย ตลอดจนพัฒนาตนเอง ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้อง   3.  สามารถปรับตัวเข้าสู่สังคมชีวิต สังคมการทำงาน สังคมข้ามวัฒนธรรมได้อย่างเหมาะสม และมีความพอเพียงในการดำเนินชีวิต   4.  สามารถปฏิบัติงานโดยใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเชิงบูรณาการได้ด้วยการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ตีความ อย่างมีเหตุผล   5.  สามารถปฏิบัติงานโดยยึดถือแนวทางความคิด วิเคราะห์ บนพื้นฐานของความเป็นไทย
        ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียดกระบวนการ วิธีการสอน ข้อ   1.  จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่าง ๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จำลองหรือสถานการณ์เสมือนจริง และนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม     2.  จัดกิจกรรมในรายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษามีจิตสาธารณะ  บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม     3.  จัดกิจกรรมเกี่ยวกับการสร้างความเข้าใจในกระบวนการบริหารธุรกิจ ด้านการวางแผน การจัดโครงสร้างองค์การ การปฏิบัติการ การควบคุมและการผล   การดำเนินงาน รวมทั้งการปรับปรุงแผนงานให้สอดคล้องกับสถานการณ์     4.  จัดให้นักศึกษาได้ฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการตามหลักบูรณาการ      การเรียนการสอนกับการทำงาน     5.  จัดกิจกรรมให้นักศึกษาได้เข้าร่วมในการบริการวิชาการแก่สังคม ร่วมกับอาจารย์และผู้เกี่ยวข้อง     6.  จัดกิจกรรมที่ให้นักศึกษาได้ฝึกใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร ในสถานการณ์และวัฒนธรรมที่หลากหลาย  
       ใส่เครื่องหมาย üในส่วนที่เกี่ยวข้อง

รายละเอียด วิธีการประเมินผล ข้อ   1.  ผลงานและการปฏิบัติงานของนักศึกษา จากการจำลอง หรือสถานการณ์จริง และความสามารถในการนำเสนอแนวทางแก้ปัญหาที่เหมาะสม     2.  พฤติกรรมที่แสดงออก ในการเข้าร่วมกิจกรรม ที่ส่งเสริมให้นักศึกษา  มีจิตสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม     3.  พฤติกรรมที่แสดงออกจากการเข้าฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการ   ตามหลักบูรณาการ  การเรียนการสอนกับการทำงาน     4.  การนำเสนอผลงาน หรือโครงงาน โดยการเลือกใช้ภาษา การสื่อสารในบริบทต่าง ๆเพื่อคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา อย่างเหมาะสม     5.   นักศึกษาสามารถใช้เทคนิคการประยุกต์ การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจในสถานการณ์ต่าง ๆ บนฐานข้อมูลและข้อมูลเชิงตัวเลขได้  
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรมจริยธรรม
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1. าด่นส้าด
1 12041308 การเขียนภาษาอังกฤษเพื่อการติดต่อสื่อสารทางธุรกิจ 2
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ข้อสอบกลางภาค 8 20%
2 ข้อสอบปลายภาค 16 20%
3 Assignments ตลอดทั้งเทอม 15%
4 งานกลุ่ม Business Report 11-14 10
5 Presentation of Business Report 15 5%
6 สอบย่อย ตลอดทั้งเทอม 20%
6 สอบย่อย ตลอดทั้งเทอม 20%
8 จิตพิสัย ตลอดทั้งเทอม 10%
1.  ครรชิต  ทะกอง.  English in Advertisement.  กรุงเทพฯ : จูนพับลิชิ่งกรุ๊ป, 2538.
2.  บังอร  สว่างวโรรส.  จดหมายธุรกิจและบันทึกสั้น.  พิมพ์ครั้งที่ 8.  กรุงเทพฯ: ชวนพิมพ์, 2540.
3.  ปวีณา  ฉัตรสูงเนิน.  เอกสารประกอบการสอนวิชา บธ. 404 การเขียนอังกฤษธุรกิจ.  ม.ป.ท., ม.ป.ป.
4.  มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.  เอกสารการสอนชุดวิชาภาษาอังกฤษสำหรับนักธุรกิจ :
หน่วยที่ 9-15.  พิมพ์ครั้งที่ 7.  กรุงเทพฯ: รุ่งศิลป์การพิมพ์, 2539.
5.  ลำดวน  จาดใจดี.  จดหมายสมัครงานและประวัติย่อ.  พิมพ์ครั้งที่ 21.  กรุงเทพฯ :
ไทยเจริญการพิมพ์, 2546.
6.  วิเชียร  ชนาเทพาพร.  Super Resume.  กรุงเทพฯ: บริษัท สยามศิลป์ พริ้นท์แอนด์แพค จำกัด,
2544.
7.  เอกฉัท  จารุเมธีชน.  ภาษาไทยธุรกิจ.  พิมพ์ครั้งที่ 4.  กรุงเทพฯ: โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์, 2541.
8.  Ashley, A. Oxford Handbook of Commercial Correspondence.  China: Oxford University
Press, 2000.
9.  Beare, Kennath. “Guide to Basic Business Letters,” Business Letter Writing Basics. [Online].  Available: http://esl.about.com/cs/lothejobEnglish/a/a_basbletter.htm. [Retrieved: March 11, 2005].
10.  Business Letter Writing.  [Online].  Available: http://www.business-letter-writing.com.
[Retrieved: March 11, 2005].
 11. Comfort, Jeremy, Revell, Rod and Stott, Chris. 6th printing. Business Reports in English.  
              Cambridge: Cambridge University Press, 1995.
12.  Doherty, Michael, Knapp, Lee, and Swift, Susan. Write for Business. Hong Kong: Longman, 1988.
13.  Email  Etiquette.  [Online].  Available: http://owl.english.purdue.edu/handouts/ print/pw/p_emailett.html [Retrieved: April 23, 2006)
14.  Guffey, Mary Ellen. Business Communication: Process and Product. California: International Thompson Publishing, 1994.
15.  Jones, Leo, and Alexander, Richard.  New International Business English. Cambridge:
Cambridge University Press, 2000.
16.  Kusumal  Rajatanun.  Communicative Business English. 7th ed. Bangkok: Thammasat
University Press, 2001.
17.  Laws, Anne.  Writing Skills. Oxford: Summertown Publishing Ltd., 1999.
18.  Lesikar, Raymond V., Petit, John D., Jr., and Flatley, Marie E. Basic Business
Communication.  6th ed. USA: Richard D. Irwin, Inc., 1993.
19.  Locker, Kitty O.  Business and Administrative Communication.  3rd ed.  USA: Richard
D. Irwin, Inc., 1995.
20.  Ninnat  Olanvoravuta.  Business English Communication. 8th ed. Bangkok: Thammasat
University Press, 1996.
21.  Ober, Scott.  Contemporary Business Communication.  2nd ed.  Boston: Houghton Mifflin, 1995.
22.  Revision in Business Writing [Online].  Available: http://owl.english.purdue.edu/ handouts/print/pw/p_revisebus.tml.  [Retrieved: April 23, 2006].
23.  Saipin Iamsam – ang.  Communicative English and Report Writing.  Bangkok: Kaen Chan Publishing Center, 1999.
24.  Staton, A.J., and Wood, L.R.  Longman Commercial Communication.  Singapore: Longman, 1993.
25.  Sucharat  Rimkeeratikul.  English for Work. Bangkok: Thammasat University Press, 1995.
26.  Sumtum  Parisuthiman.  Business Communication: A Functional Approach. 7th ed. Bangkok: Thammasat University Press, 2000.
27.  Taylor, Shirley.  Model Business Letters, E-mail & Other Business Documents. 6th ed. China: Pearson Education Limited, 2004.
28.  Voiles, Price R.  Business English Essentials. 8th ed. Singapore: McGraw-Hill Book Co., 1993.
29.  Wolford, Chester L., and Vanneman, Gretchen.  Business Communication. U.S.A: Harcourt Brace Jovanovich, Inc., 1992.
30.  Writing @ CSU: Writing Guides. [Online].  Available: http://Writing.Colostate.Edu.
[Retrieved: March 11, 2005].
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชา เช่น Wikipedia คำอธิบายศัพท์
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
1.2  แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.3  ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด  ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
2.1   การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2   มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
 
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา  เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น  ดังนี้
5.1   ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2   เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ