ทดสอบสิ่งทอ

Textiles Testing

รู้ความสำคัญของการทดสอบสิ่งทอ เข้าใจหลักการและระเบียบของการทดสอบสิ่งทอ เข้าใจมาตรฐานการทดสอบสิ่งทอ มีทักษะในการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทดสอบสิ่งทอ มีทักษะในการทดสอบสิ่งทอตามมาตรฐานทางฟิสิกส์และทางเคมี มีจิตสำนึกในหน้าที่และซื่อตรงต่อกระบวนการทดสอบสิ่งทอ
เอกสารประกอบการสอนฉบับนี้ เป็นเอกสารการเตรียมและวางแผนการสอนการทดสอบสิ่งทอ สำหรับสอนนักศึกษาหลักสูตรออกแบบสิ่งทอ ซึ่งมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับความสำคัญของการทดสอบสิ่งทอ หลักการและระเบียบของการทดสอบสิ่งทอ วิธีการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทดสอบสิ่งทอ มาตรฐานการทดสอบสิ่งทอ วิธีการทดสอบสิ่งทอตามมาตรฐานทางฟิสิกส์และทางเคมี มีจิตสำนึกในหน้าที่และซื่อตรงต่อกระบวนการทดสอบสิ่งทอ
ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับเกี่ยวกับความสำคัญของการทดสอบสิ่งทอ หลักการและระเบียบของการทดสอบสิ่งทอ วิธีการใช้วัสดุอุปกรณ์ในการทดสอบสิ่งทอ มาตรฐานการทดสอบสิ่งทอ วิธีการทดสอบสิ่งทอตามมาตรฐานทางฟิสิกส์และทางเคมี มีจิตสำนึกในหน้าที่และซื่อตรงต่อกระบวนการทดสอบสิ่งทอ
- นักศึกษาสามารถเข้าพบและขอคำปรึกษาได้นอกเวลาเรียนตามความต้องการ
- อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
1. มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
2. มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ
3. ใีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4. เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1. อธิบายความสำคัญของการทดสอบสิ่งทอ
2. มอบหมายงานทดสอบสิ่งทอทั้งที่เป็นงานกลุ่มและงานเดี่ยว
3. กำหนดเวลาในการส่งงาน
4. อภิปรายกลุ่ม
1. จากการซักถามในชั้นเรียน
2. จากการสังเกตุพฤติกรรมในการปฏิบัติงาน
3. ขากการเข้าชั้นเรียนการการส่งงาน
1. มีความรู้และความเข้าใจทั้งทางทฤฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2. สามาถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโ,ยีของสาขาที่ศึกษา
3. สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
 
บรรยาย สาธิต มอบหมายงาน
สอบกลางภาค สอบปลายภาค 
1. มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการหรือวิชาชีพ
2. มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
บรรยาย สาธิต มอบหมายงาน ส่งผลงานที่ได้รับมอบหมาย
 จากผลงานที่มอบหมาย
1. มีมนุษยสัมพันะ์และมารยาทสังคมที่ดี
2. มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4. สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่งยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
สาธิต มอบหมายงานเดี่ยวและงานกลุ่ม ให้นักศึกษาอภิปรายผลการทดสอบ
จากการสังเกตุและจากผลงานที่มอบหมาย
1. สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
2. สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
3. สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
แนะนำแหล่งค้นคว้าหาข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต ยกตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูล แนะนำวิธีการนำเสนอผลงาน
 
 จากผลงานที่มอบหมาย การนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา คุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 43041036 ทดสอบสิ่งทอ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม - มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม การสังเกตุ 1 2 และ 3 3
2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการหรือวิชาชีพ สังเกตุการปฏิบัติงานของนักศึกษา สังปดาห์ที่ 3-8 แล สัปดาห์ที่ 10-16 5
3 มีวินัย ขยัย อดทน ตรงต่อเวลาและมีความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม จากการเข้าชั้นเรียนและความตรงต่อเวลาในการส่งงาน สัปดาห์ที่ 1-8 และ สัปดาห์ที่ 10-16 6
4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ จากการเคารพสิทธิของเพื่อนร่วมชั้นเรียนในการนำเสนองานและการวิเคราะห์ผลงาน สัปดาห์ที่ 16 3
5 ด้านความรู้ : มีความรู้ความเข้าใจทั้งทางทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื่อหาที่ศึกษา สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาที่ศึกษา สามารถบูรณาการควารู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง สอบกลางภาคและปลายภาค สัปดาห์ที่ 9 และ สัปดาห์ที่ 17 30
6 ทักษาะทางปัญญา : มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชิาการหรือวิชาชีพ มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ จากผลการปฏิบัติงาน สัปดาห์ที่ 1-8 และสัปดาห์ที่ 10-16 35
7 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลอละความรับผิดชอบ : - มีมนุษยสัมพันธืและมารยาทที่ดีในสังคม - มีภาวะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากการสังเกตุ สัปดาห์ที่ 1-2 3
8 - สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม - สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์ใสช่วยสังคมในประเด็นที่เหมาะสม - สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม - สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์และประยุกต์ใช้เทคโนโ,ยีเพื่อแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม - สามารถใช้ภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ จากการนำเสนอผลงานหน้าชั้นเรียนและการถามตอบ สัปดาห์ที่ 1-2 และ สัปดาห์ที่ 16 15
1. มณฑา จันทร์เกตุเลี้ยด. 2541. วิทยาศาสตร์สิ่งทอเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : หอรัตนชัย
การพิมพ์.
2. รัตนพล มงคลรัตนาสิทธิ์. 2549. วิธีการทดสอบความคงทนของสีบนวัสดุสิ่งทอตามมาตรฐาน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
3. อัจฉราพร ไศละสูต. 2539. ความรู้เรื่องผ้า. กรุงเทพฯ : สร้างสรรค์วิชาการ.
4. A R Horrocks and S C Anand. 2000. HANDBOOK OF TECHNICAL TEXTILES. New York : Woodhead Publishing Limited, Cambridge England.
5. Billie J. Collier and Helen H. Epps. 1999. Textile Testing and Analysis. New Jersey : United States of America.
แหล่งอ้างอิงที่สำคัญอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับองค์ความรู้ด้านการทดสอบสิ่งทอ
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับการทดสอบสิ่งทอ
1. การปะเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษาได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาดังนี้

การสนทนาระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินรายวิชาตามข้อกำหดของมหาวิทยาลัย
1. ผลงานของนักศึกษา
2. การสังเกตพฤติกรรมการเรียนของนักศึกษา
3. การทดสอบผลการเรียนรู้
1. ทบทวนเนื้อหาและวิธีการสอนให้สอดคล้องกับเกณฑ์กำหนด
2. หาแนวทางและวิธีการสอนที่เหมาะสมกับสภาวะปัจจุบัน
1. การทวนสอบการให้คะแนนนักศึกษาตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
2. การประเมินผลสัมฤทธิ์ตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ 5 ด้าน
1. ปรับปรุงรายวิชาทุกปีตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
2. การประชุมกรรมการประจำหลักสูตรเพื่อพิจารณาปรับปรุงประสิทธิผลรายวิชา