การออกแบบแม่พิมพ์โลหะ

Press Tools and Dies Design

- มีความรู้ความสามารถเกี่ยวกับหลักการตัด และกดยึดชิ้นงานด้วยแม่พิมพ์ วิธีการออกแบบแม่พิมพ์ชนิดต่างๆ รวมทั้งการวิเคราะห์ผลของแรงตัดและการเปลี่ยนรูปร่างชิ้นงานขึ้นรูป
- สามารถปฏิบัติงานเฉพาะด้านสามารถเข้าใจหลักการและขั้นตอนของการตัด และกดยึดชิ้นงานด้วยแม่พิมพ์ วิธีการออกแบบแม่พิมพ์ชนิดต่างๆ รวมทั้งการวิเคราะห์ผลของแรงตัดและการเปลี่ยนรูปร่างชิ้นงานขึ้นรูป
- ศึกษาเกี่ยวกับหลักการตัด และกดยึดชิ้นงานด้วยแม่พิมพ์ วิธีการออกแบบแม่พิมพ์ชนิดต่างๆ รวมทั้งการวิเคราะห์ผลของแรงตัดและการเปลี่ยนรูปร่างชิ้นงานขึ้นรูป
-    เวลาให้คำปรึกษานักศึกษา หลักเลิกเรียนตั้งแต่เวลา 16.00-17.00 น
- มีวินัยตรงต่อเวลาและความรับผิดชอบต่อตนเองวิชาชีพและสังคม
- มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามสามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลำดับความสำคัญ
- เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม
ให้ความสำคัญกำหนดให้นักศึกษาเข้าห้องเรียนให้ตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด ให้นักศึกษาร่วมกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นเป็นกลุ่มในการเรียนแต่ละครั้ง ให้ความสำคัญของคุณค่าคุณธรรมจริยธรรมเสียสละและซื่อสัตย์สุจริตต่อการปฏิบัติงานทางด้านการออกแบบแม่พิมพ์โลหะ

- ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มแล้วนำทำการออกแบบแม่พิมพ์โลหะและสร้างชิ้นงานแม่พิมพ์โลหะขึ้นมา
- การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงต่อเวลา
- ประเมินการนำเสนอหน้าชั้นเรียนและงานที่มอบหมาย
- ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายและการกระทำทุจริตในการสอบ
- ประเมินผลจากผลงานของการออกแบบแม่พิมพ์โลหะ
- ประเมินผลจากชิ้นงานที่ได้ปฏิบัติตามที่ได้ทำการออกแบบ
- ประเมินจากการแต่งกายให้ตรงตามระเบียบ และ ปฏิบัติตามข้อบังคับของการใช้พื้นที่ปฏิบัติงาน
- พัฒนาความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐานวิทยาศาสตร์พื้นฐานวิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้องและการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
- พัฒนาความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สำคัญในเนื้อหาสาขาวิชาด้านการออกแบบแม่พิมพ์โลหะ
- พัฒนาความสามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาการออกแบบแม่พิมพ์โลหะกับความรู้ในศาสตร์อื่นๆที่เกี่ยวข้อง
- พัฒนาความสามารถในการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้านการออกแบบแม่พิมพ์โลหะด้วยวิธีการที่เหมาะสมรวมถึงการประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เหมาะสมเช่นการเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์เป็นต้น
- พัฒนาความรู้และทักษะในวิชาการออกแบบแม่พิมพ์โลหะในการประยุกต์แก้ไขปัญหาในงานจริงได้ตลอดระยะเวลาที่นักศึกษาอยู่ในหลักสูตร
- บรรยายอภิปราย หลักการทางคณิตศาสตร์พื้นฐานวิทยาศาสตร์พื้นฐานวิศวกรรมพื้นฐานและเศรษฐศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับวัสดุ รวมถึงหลักการออกแบบสร้างนวัตกรรม
- มอบหมายงานศึกษาและค้นคว้าปัญหาทางด้านการออกแบบแม่พิมพ์โลหะ และ การผลิตชิ้นงานที่จำเป็นต้องอาศัยหลักการของการออกแบบแม่พิมพ์โลหะ
-  ฝึกวิเคราะห์กรณีศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบและเลือกใช้วัสดุในการสร้างผลงานด้วยหลักการทางด้านการออกแบบแม่พิมพ์โลหะ
- มอบหมายให้แบ่งกลุ่มหรือเฉพาะบุคคล โดยให้กรณีศึกษาการออกแบบแม่พิมพ์โลหะจากงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
- สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการและทฤษฏี
- ประเมินผลจากการออกแบบผลจากการค้นคว้าข้อมูลปัญหาทางด้านการออกแบบ
- ประเมินผลจากงานที่มอบหมายและนำเสนอจากการวิเคราะห์ข้อมูลกรณีศึกษา
 
- พัฒนาความสามารถในความคิดอย่างมีวิจารณญาณที่ดี
- พัฒนาความสามารถรวบรวมศึกษาวิเคราะห์และสรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
-พัฒนาความสามารถทางการคิดวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาด้านการออกแบบแม่พิมพ์โลหะได้อย่างมีระบบรวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- พัฒนาความสามารถในด้านของจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสมในการพัฒนานวัตกรรมหรือต่อยอดองค์ความรู้จากเดิมได้อย่างสร้างสรรค์
- พัฒนาความสามารถในด้านของการสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเองเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิตและทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์ความรู้และเทคโนโลยีใหม่ๆ
- ฝึกวิเคราะห์จากกรณีศึกษา ชิ้นงานตัวอย่าง และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
- มอบหมายงานสืบค้นด้วยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
- ฝึกการออกแบบแม่พิมพ์โลหะอยู่เป็นประจำ
- ฝึกปฏิบัติการออกแบบแม่พิมพ์โลหะ
- ประเมินผลจากการวิเคราะห์ด้วยหลักการ พร้อมอธิบายวิธีการใช้งาน ปัญหา แนวทางในการออกแบบ จากกรณีศึกษาชิ้นงานตัวอย่าง และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
-  สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาและวิธีการรวมถึงปริมาณแหล่งสืบค้นข้อมูล
- ประเมินผลจากการออกแบบและงานที่มอบหมายสามารถใช้งานได้จริง
- พัฒนาบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบในการทำงานตามที่มอบหมายทั้งงานบุคคลและงานกลุ่มสามารถปรับตัวและทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งในฐานะผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพสามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ
- พัฒนาจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงานและการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
- ฝึกให้นักศึกษาสามารถทำงานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดีทำงานได้ตรงตามเวลา มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
- มอบหมายงานการปฏิบัติงานกลุ่มและปฏิบัติงานรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความก้าวล้ำของเทคโนโลยีทางด้านการออกแบบแม่พิมพ์โลหะหรืออ่านบทความที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาหรือการสัมภาษณ์ผู้ที่เกี่ยวข้องกับงานทางด้านการออกแบบแม่พิมพ์โลหะ
- จัดกิจกรรมกลุ่มเพื่อรณรงค์การปฏิบัติงานด้านการออกแบบแม่พิมพ์โลหะเพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อการทำงานและสิ่งแวดล้อม ด้วยการนำเสนอการจัดบอร์ดหรือการให้นักศึกษาปฏิบัติให้ถูกต้อง
- นักศึกษาสามารถช่วยเหลือกันในการแก้ไขปัญหาต่างๆและมีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน พยายามช่วยเหลือกันโดยตลอด
- ประเมินผลจากการส่งงานได้ตรงตามกำหนด
- ประเมินตนเองและเพื่อนร่วมกลุ่มด้วยแบบฟอร์มที่กำหนดและการสอบสัมภาษณ์การปฏิบัติงานเป็นรายบุคคล
- ประเมินจากพฤติกรรมการมีส่วนร่วมของกลุ่มและการทำงานเป็นทีม
 
- พัฒนาทักษะในการใช้คอมพิวเตอร์สำหรับการออกแบบแม่พิมพ์โลหะได้เป็นอย่างดี
- สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
- สามารถใช้เครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือวิศวกรรมเพื่อประกอบวิชาชีพทางด้านการออกแบบแม่พิมพ์โลหะ
- ฝึกให้นักศึกษาได้ทำการออกแบบโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
-  ฝึกให้นักศึกษาได้มีการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อการแก้ปัญหาการออกแบบแม่พิมพ์โลหะ
-  มอบหมายรายงานและการนำเสนอจากหลักการของการออกแบบแม่พิมพ์โลหะหรือกรณีศึกษา
-  มอบหมายงานด้านการคำนวณเชิงตัวเลขที่เกี่ยวข้องกับงานที่เช่น การคำนวณหาจุดคุ้มทุนในงานออกแบบแม่พิมพ์โลหะ
- ประเมินผลจากการนำเสนอ การสอบกลางภาคและปลายภาค
- ประเมินผลจากงานที่ใช้การออกแบบแม่พิมพ์โลหะ
- ประเมินผลจากการคำนวณตามที่ได้ให้แบบฝึกหัด
- พัฒนาทักษะการบริหารเวลา ทักษะวิธีการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ด้านวัสดุ
- พัฒนาทักษะการปฏิบัติงานและความรับผิดชอบในการทำงานเป็นกลุ่ม
- ผู้สอนแนะนำวิธีการปฏิบัติ และการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆด้านวัสดุ
- ผู้สอนควบคุมการฝึกปฏิบัติงานให้เป็นระบบระเบียบตามกำหนด
- สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานเป็นรายบุคคล
- ประเมินผลจากรายงานและผลงานที่มอบหมาย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1, 2.2, 2.3, 3.1, 3.2, 3.3, 5.5 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9,17 25%,25%
2 2.4, 2.5, 3.4, 3.5, 4.4, 4.5, 5.1, 5.3 , 6.1 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การอ่านและสรุปบทความ การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาคการศึกษา 40%
3 1.1,1.2, 1.3,1.5, 6.2 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
ชาญชัย ทรัพยากร, ประสิทธิ์ สวัสดิสรรพ์, วิรุฬ ประเสริฐวรนันท์.การออกแบบแม่พิมพ์. ส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น).2554
รศ.ดร.วารุณี เปรมานนท์, รศ.ดร.พงศ์พันธ์ แก้งตาทิพย์.แม่พิมพ์ โลหะแผ่น. กรุงเทพ : สสท.2552
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับหัวข้อในประมวลรายวิชาการออกแบบแม่พิมพ์โลหะ
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- ข้อเสนอแนะผ่านเว็บบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทำเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์  ดังนี้
- การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน  ดังนี้
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ