วิศวกรรมน้ำเสีย

Wastewater Engineering

เพื่อให้ผู้เรียนศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของน้ำเสีย การวัดอัตราการไหลมาตรฐานน้ำทิ้ง กระบวนการบำบัดน้ำเสียทางกายภาพ ( การแยกด้วยตะแกรง การกำจัดตะกอนหนัก การตกตะกอน ) กระบวนการบำบัดน้ำเสียทางเคมี ( การตกตะกอนทางเคมี ออกซิเดชั่น - รีดักชั่น ) กระบวนการบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพ ( กระบวนการเอเอส บ่อเติมอากาศ บ่อผึ่ง กระบวนการฟิล์มตรึง ) กระบวนการบำบัดตะกอน ( การปรับเสถียร การรีดน้ำ )
เพื่อปรับปรุงเนื้อหาวิชาให้ทันกับความเปลี่ยนแปลงโดยเน้นการนำไปในใช้ในการทำงานอย่างเหมาะสมในแต่ละสถานการณ์ อีกทั้งให้สอดคล้องกับระเบียบและแนวปฏิบัติ เรื่องกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2552 ของกระทรวงศึกษาธิการและสำนักงานการอุดมศึกษา (2552) และการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะของน้ำเสีย การวัดอัตราการไหลมาตรฐานน้ำทิ้ง กระบวนการบำบัดน้ำเสียทางกายภาพ ( การแยกด้วยตะแกรง การกำจัดตะกอนหนัก การตกตะกอน ) กระบวนการบำบัดน้ำเสียทางเคมี ( การตกตะกอนทางเคมี ออกซิเดชั่น - รีดักชั่น ) กระบวนการบำบัดน้ำเสียทางชีวภาพ ( กระบวนการเอเอส บ่อเติมอากาศ บ่อผึ่ง กระบวนการฟิล์มตรึง ) กระบวนการบำบัดตะกอน ( การปรับเสถียร การรีดน้ำ )
จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ) และการติดต่อทาง e-mail address ที่ pttwp512@yahoo.com
มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผู้ประกอบวิชาชีพ รวมถึงเข้าใจถึงบริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแต่ละสาขาฯ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
1.2.1 ให้ความรู้โดยสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรมในเนื้อหาของบทเรียนต่างๆ
1.2.2 ให้นักศึกษาทำที่มอบหมายด้วยตัวเอง และส่งภายในเวลาที่กำหนด โดยค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลต่างๆ และมีการอ้างอิงแหล่งที่มาโดยไม่มีการคัดลอกหรือแอบอ้างผลงานผู้อื่นมาเป็นของตนเอง
1.2.3 ให้นักศึกษานำความรู้ที่ค้นคว้ามา แลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนในกลุ่มและนำเสนอผลงานเขียนที่สร้างสรรค์ โดยไม่ส่งผลกระทบในทางลบต่อสังคมและชุมชน
1.3.1 ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในภาพเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมายและการร่วมกิจกรรม
1.3.3 ปริมาณการกระทำทุจริตในการสอบ
1.3.4 ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
1.3.5 ประเมินจากคุณภาพของงานที่ได้รับมอบหมาย ที่สะท้อนถึงความตั้งใจ ความรับผิดชอบของนักศึกษา
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทางคณิตศาสตร์พื้นฐาน วิทยาศาสตร์พื้นฐาน วิศวกรรมพื้นฐาน และเศรษฐศาสตร์ เพื่อการประยุกต์ใช้กับงานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง และการสร้างนวัตกรรมทางเทคโนโลยี
2.1.2 มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการที่สำคัญทั้งในเชิงทฤษฎีและปฏิบัติ ในเนื้อหาของสาขาวิชาเฉพาะด้านทางวิศวกรรม
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
2.2.1 บรรยายและให้ศึกษาความรู้ในบทเรียนเพิ่มเติมและแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนในกลุ่ม
2.2.2 อธิบายเป็นขั้นตอนและเปิดโอกาสให้ซักถาม
2.2.3 ได้จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการนำนักศึกษาไปทัศนศึกษาดูงานในสถานประกอบการจริง พร้อมให้นักศึกษาทำรายงานประกอบเป็นกลุ่มพร้อมนำเสนอผลงาน
2.3.1 การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
2.3.2 ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ
2.3.3 ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
3.1.2 สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และ สรุปประเด็นปัญหาและความต้องการ
3.1.3 สามารถคิด วิเคราะห์ และแก้ไขปัญหาด้านวิศวกรรมได้อย่างมีระบบ รวมถึงการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.2.1 ให้นักศึกษาระดมสมอง แสดงความคิดเห็นทั้งเป็นรายบุคลคลและเป็นกลุ่มย่อย
3.2.2 ให้นักศึกษาได้มีการนำเสนอแบบอภิปรายกลุ่ม
3.3.1 การร่วมกลุ่มกิจกรรมในชั้นเรียน
3.3.2 พิจารณาจากงานที่มอบหมาย
3.3.3 การสรุปความคิดรวบยอดของแต่ละหน่วยเรียน
3.3.4 การทดสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
4.1.1 สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ทั้งของตนเอง และสอดคล้องกับทางวิชาชีพอย่างต่อเนื่อง
4.1.2 มีจิตสำนึกความรับผิดชอบด้านความปลอดภัยในการทำงาน และการรักษาสภาพแวดล้อมต่อสังคม
4.2.1 จัดกิจกรรมแบบกลุ่มย่อยในชั้นเรียน ในการวิเคราะห์กรณีศึกษา
4.2.2 มอบหมายงานรายบุคคล เช่น การค้นคว้าความรู้ด้านต่างๆเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา
4.2.3 กำหนดให้นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้องกับโรงงานต่างๆ รวมทั้งไปศึกษาในสถานประกอบการจริง พร้อมนำเสนอรายงานและมีการซักถามและแลกเปลี่ยนข้อมูลที่ได้มา
4.3.1 การร่วมกลุ่มกิจกรรมในชั้นเรียน
4.3.2 พิจารณาจากงานที่มอบหมาย
4.3.3 พิจารณาจากพฤติกรรมของนักศึกษาแต่ละบุคคลรวมถึงพฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
5.1.1 ทักษะการค้นคว้า หาข้อมูล คิดคำนวณ เชิงตัวเลข
5.1.2 พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปล การเขียน โดยการทำรายงาน
และนำเสนอในชั้นเรียน
5.1.3 พัฒนาทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลจากกรณีศึกษา
5.1.4 พัฒนาทักษะในการสืบค้น ข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
5.1.5 ทักษะการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสื่อสาร
5.1.6 ทักษะในการนำเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.2.1 มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์สื่อการสอน E- Learning
และทำแบบฝึกหัด และตรวจสอบความถูกต้อง
5.2.2 นำเสนอโดยรูปแบบและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3.1 ประเมินจากรายงาน และรูปแบบการนำเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี
5.3.2 ประเมินจากการมีส่วนร่วมในการอภิปรายและวิธีการอภิปราย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 2.1.1,2.1.2,2.1.3 2.1.1,2.1.2,2.1.3 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 8 17 35% 35%
2 3.1.2,3.1.3 3.2.1,3.2.2,4.1.2,4.1.5 1.1.3 วิเคราะห์กรณีศึกษาค้นคว้า การนำเสนอรายงาน การทำงานกลุ่มและผลงาน การส่งงานตามที่มอบหมาย ตลอดภาค การศึกษา 20%
3 1.1.5 4.2.1,4.2.2,4.2.3 การเข้าชั้นเรียน การมีส่วนร่วม อภิปราย เสนอความคิดเห็นในชั้นเรียน ตลอดภาคการศึกษา 10%
1.1 Metcalf and Eddy ,Inc , “ Wastewater Engineering : Treatment Disposal and Reuse ” , 3rd edition , McGraw-Hill , Inc , New York , 1991
1.2 Reynolds , T.D and Richards P.A , “ Unit Operations and Processes in Environmental Engineering ” , 2nd edition , PWS Publishing Company , 1996
1.3 Metcalf and Eddy ,Inc , “ Wastewater Engineering : Collection and Pumpling of Wastewater ” , McGraw-Hill , Inc , New York , 1981
1.4 W. Wesley Eckenfelder , Jr , “ Industrial Water Pollution Control ” , 3rd edition , McGraw-Hill , Inc , New York , 2000
1.5 ธงชัย พรรณสวัสดิ์ , “ คู่มือการออกแบบระบบระบายน้ำเสียและน้ำฝน ” , วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ และ สมาคมสิ่งแวดล้อมไทย , 2538
1.6 เกรียงศักดิ์ อุดมสินโรจน์ , วิศวกรรมการบำบัดน้ำเสีย เล่ม 1 , มิตรนราการพิมพ์ , กรุงเทพ , 2536
1.7 เกรียงศักดิ์ อุดมสินโรจน์ , วิศวกรรมการบำบัดน้ำเสีย เล่ม 2, มิตรนราการพิมพ์ , กรุงเทพ , 2538
1.8 เกรียงศักดิ์ อุดมสินโรจน์ , วิศวกรรมการบำบัดน้ำเสีย เล่ม 3, มิตรนราการพิมพ์ , กรุงเทพ , 2540
1.9 เกรียงศักดิ์ อุดมสินโรจน์ , วิศวกรรมการบำบัดน้ำเสีย เล่ม 4, มิตรนราการพิมพ์ , กรุงเทพ , 2542
-
[online]. www.wma.or.th [online]. http://www.ertc.deqp.go.th

3. [online]. www.pcd.go.th
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้

การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา

ข้อเสนอแนะผ่านการให้คำปรึกษานอกชั้นเรียน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1 การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2 ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1 สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2 การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ สอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยผู้เชี่ยวชาญจากภายนอกสาขา หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ