การอบแห้งผลผลิตทางการเกษตรและอาหาร

Drying of Agricultural and Food Products

เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ ความชื้นในวัสดุ ความชื้นสมดุล อัตราการอบแห้ง สมการอบแห้ง แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของการอบแห้ง การอบแห้งเมล็ดพืชและการ เก็บรักษา การอบแห้งผลไม้ การอบแห้งด้วยแสงอาทิตย์
เพื่อเพิ่มเติมสื่อการเรียนการสอนให้เข้ากับตารางเรียนที่มีตัวอย่างที่ทันสมัยและน่าสนใจมากขึ้น เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ในเรื่องหลักการหรือแนวคิดของการอบแห้ง สามารถนำไปปรับใช้และประยุกต์ได้จริง
ศึกษาเกี่ยวกับพื้นฐานการอบแห้งของผลผลิตทางการเกษตรและอาหาร คุณสมบัติของอากาศชื้นความชื้นสมดุล ความสัมพันธ์ระหว่างความชื้นกับ อุณหภูมิ การเคลื่อนที่ของอากาศ วิธีการอบแห้งแบบต่างๆ เช่น การอบแห้งด้วย ลมร้อน การอบแห้งด้วยระบบปั๊มความร้อน เป็นต้น
อาจารย์ผู้สอน แจ้งเวลาให้นักศึกษามาปรึกษานอกตารางเรียนในครั้งแรกของการเรียนการสอน โดย จัดสรรเวลาให้อย่างน้อย 1 คาบต่อสัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ มีความซื่อสัตย์ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้
1.1.1 มีจิตสำนึกสาธารณะและตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม
1.1.2 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.1.3 มีวินัย ขยัน อดทน ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
1.1.4 เคารพสิทธิในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.2.1 สอดแทรกตัวอย่างที่แสดงให้เห็นถึงภาระ ความรับผิดชอบของอาชีพ และผลกระทบที่เกิดขึ้นหากไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
 1.2.2 สอดแทรกแนวคิดเรื่องระเบียบวินัย ปลูกฝังให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงการเคารพ ระเบียบข้อบังคับ โดยยกตัวอย่างจริงจากพฤติกรรมนักศึกษาในห้องเรียน เช่น การเข้าเรียนตรงต่อ เวลา มารยาทการใช้อุปกรณ์ สื่อสาร 
1.2.3 ปลูกฝังให้นักศึกษาได้ตระหนักถึงความซื่อสัตย์ โดยยกตัวอย่างจริงจากพฤติกรรม นักศึกษาในห้องเรียน เช่น การลอกการบ้าน การลอกกันระหว่างการทดสอบย่อย เป็นต้น 
1.2.4 ให้ความสำคัญในวินัย การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในระยะเวลาที่กำหนด
1.3.1   คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา
1.3.2   การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง
1.3.3   สังเกตพฤติกรรมต่างๆ ของนักศึกษาที่เกิดระหว่างการใช้วิธีการสอนในข้อข้างต้น ว่าเป็นไปตามคาดหมายไว้หรือไม่ถ้าไม่เป็นไปตามที่คาดหมายก็อาจเปลี่ยนสถานการณให้เหมาะสม มากขึ้น
2.1.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
2.1.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีของสาขาวิชาที่ศึกษา
2.1.3 สามารถบูรณาการความรู้ที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
บรรยายโดยใช้ Power point และกระดานดำให้แบบฝึกหัดทำในห้อง การบ้าน การทดสอบย่อย  
2.3.1   ประเมินจากแบบทดสอบย่อย สอบกลางภาคและ สอบปลายภาค 
2.3.2   พิจารณาจากงานที่มอบหมาย
3.1.1 มีทักษะการปฏิบัติจากการประยุกต์ความรู้ทั้งทางด้านวิชาการ และวิชาชีพ
3.1.2 มีทักษะในการนำความรู้มาคิดและใช้อย่างเป็นระบบ
ใช้ตัวอย่างที่ใกล้เคียงหรือเหมือนกับงานจริงประกอบการสอน กระตุ้นให้นักศึกษาคิดด้วยตนเอง และแสดงความคิดในการเริ่มต้นวิเคราะห์ปัญหา มอบหมายการบ้านและแบบฝึกหัดให้ นักศึกษาทำประจำสัปดาห์ตามหัวข้อต่างๆ 
ทดสอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และการประยุกต์ ความรู้ที่ศึกษา และงานที่ได้รับมอบหมาย
4.1.1 มีมนุษยสัมพันธ์และมารยาทสังคมที่ดี
4.1.2 มีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.1.3 สามารถทำงานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งได้อย่างเหมาะสม
4.1.4 สามารถใช้ความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือสังคมในประเด็นที่เหมาะสม
เปิดโอกาสให้นักศึกษาได้ทำงานทั้งกลุ่มและเดี่ยว ให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการกำหนดโจทย์ กำหนดบทบาทในการทำงาน และให้นำเสนอผลงาน รวมทั้งให้นักศึกษามีบทบาทในการให้ความเห็น กับผลงานของคนอื่น หรือกลุ่มอื่น
4.3.1  ประเมินพฤติกรรมภาวะ การเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
4.3.2  ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ  พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
4.3.3  พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
4.3.4  ประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาระหว่างการเรียนและการนำเสนอผลงาน
5.1.1 สามารถเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือสื่อสารที่เหมาะสม
5.1.2 สามารถสืบค้น ศึกษา วิเคราะห์ และประยุกต์ใช้เทคโนโลยีเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างเหมาะสม
5.1.3 สามารถใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
5.2.1   มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากเว็บไซต์หรือสื่อการสอน E- Learnin และท ารายงานโดยเน้นการน าตัวเลข หรือมีสถิติอ้างอิง จากแหล่งที่มาข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
5.2.2   นำเสนอโดยรูปแบบ power point และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้รับมอบหมาย และพฤติกรรมของนักศึกษาระหว่างการเรียน
6.1.1 มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย
6.1.2 มีพัฒนาการทางด้านระบบต่างๆ ของร่างกาย
6.1.3 มีพัฒนาการทางด้านบุคลิกภาพ
สอนโดยให้นักศึกษาทดลองใช้อุปกรณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหารายวิชา
6.3.1   สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงาน
6.3.2   พิจารณาผลการปฏิบัติงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6. ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3
1 52011414 การอบแห้งผลผลิตทางการเกษตรและอาหาร
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 ด้านคุณธรรม จริยธรรม 1.คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา 2.การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง 3.สังเกตพฤติกรรมต่างๆ ของนักศึกษาที่เกิดระหว่างการใช้วิธีการสอนในข้อข้างต้น ว่าเป็นไปตามคาดหมายไว้หรือไม่ถ้าไม่เป็นไปตามที่คาดหมายก็อาจเปลี่ยนสถานการณให้เหมาะสม มากขึ้น ตลอดภาคการศึกษา 5
2 ความรู้ ประเมินจากแบบทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค และงานที่ได้รับมอบหมาย - 50
3 ทักษะทางปัญญา ทดสอบย่อย สอบกลางภาคและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์และการประยุกต์ความรู้ที่ศึกษา งานที่ได้รับมอบหมาย - 20
4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 1.ประเมินพฤติกรรมภาวะ การเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี 2.ประเมินจากรายงานที่นำเสนอ พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม 3.พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา 4.ประเมินพฤติกรรมของนักศึกษาระหว่างการเรียนและการนำเสนอผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 5
5 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานที่ได้รับมอบหมาย และพฤติกรรมของนักศึกษาระหว่างการเรียน - 20
6 ทักษะพิสัย 1.สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงาน 2.พิจารณาผลการปฏิบัติงาน - -
สมชาติ โสภณรณฤทธิ์. 2540. การอบแห้งเมล็ดพืชและอาหารบางประเภท. พิมพ์ครั้งที่ 7. หนังสือในโครงการส่งเสริมการสร้างตำรา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, กรุงเทพมหานคร.
ณัฐวุฒิ ดุษฎี. 2546. เอกสารประกอบการสอน พร.409 การอบแห้งผลิตภัณฑ์เกษตรด้วยพลังงานทดแทน. มหาวิทยาลัยแม่โจ้ใ เชียงใหม่ใ
ไม่มี
เอกสารประกอบการสอน ดร.เทวรัตน์ ทิพยวิมล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
เอกสารประกอบการสอน ผศ.ดร.ณัฐวุฒิ ดุษฏี ศูนย์วิจัยพลังงาน มหาวิทยาลัยแม่โจ้ 
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2   การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2  มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1  ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4