การถ่ายภาพแฟชั่น

Fashion Photography

รู้ เข้าใจ เกี่ยวกับหลักการถ่ายภาพเบื้องต้น การจัดแสง การจัดองค์ประกอบ ในการถ่ายภาพ การจัดหุ่นเพื่อการถ่ายภาพแฟชั่น การถ่ายภาพแฟชั่นบุคคล และการนาเสนอภาพถ่ายแฟชั่น  
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในหลักของการถ่ายภาพ สามารถเรียนรู้ในการจัดแสงให้เหมาะสม สอดคล้องกับการจัดองค์ประกอบที่ดีในการถ่ายภาพแฟชั่น รวมทั้งสามารถจัดหุ่นบุคคลเพื่อถ่ายภาพแฟชั่น ตามหัวข้อ และน าเสนอภาพถ่ายแฟชั่นได้อย่างเหมาะสม
 ศึกษาและฝึกปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการถ่ายภาพเบื้องต้น การจัดแสงในการถ่ายภาพ องค์ประกอบของการถ่ายภาพ การจัดหุ่นเพื่อการถ่ายภาพแฟชั่น การถ่ายภาพแฟชั่นบุคคล การน าเสนอภาพถ่ายแฟชั่น
- อาจารย์ประจ ารายวิชา ประกาศเวลาให้ค าปรึกษาภายในชั้นเรียน
- อาจารย์จัดเวลาให้ค าปรึกษา อย่างน้อย 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ โดยมีคุณธรรม จริยธรรมตามคุณสมบัติหลักสูตร  ดังนี้  1.1.1 ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต  1.1.2 มีวินัย  ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเอง  1.1.3 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น  รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์  1.1.4 เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆ ขององค์กรและสังคม  1.1.5 มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 
1.2.1 บรรยายเนื้อหา พร้อมยกตัวอย่างเกี่ยวกับประเด็นทางคุณธรรม และ จริยธรรม  1.2.2 การขานชื่อเข้าเรียน การแต่งกายตามระเบียบ  1.2.3 การมอบหมายงานโดยมีแผนงานและกำหนดเวลา  
 
1.3.1    พฤติกรรมการเรียน การแสดงออกในผลงานที่ได้รับมอบหมาย และตรงเวลา  1.3.2    ตรวจให้คะแนนความประพฤติและการแต่งกาย   
 มีความเข้าใจในหลักการถ่ายภาพ การจัดแสง จัดองค์ประกอบของภาพถ่าย สามารถจัดหุ่นเพื่อถ่ายภาพแฟชั่น และภาพบุคคล สามารถน าเสนองานภาพถ่ายแฟชั่นได้อย่างเหมาะสม 
2.2.1    บรรยาย ยกตัวอย่าง และให้ปฏิบัติงานตามหัวข้อใบงาน  2.2.2    สาธิตให้ดูเป็นตัวอย่าง  2.2.3    ทำการค้นคว้าความรู้เพิ่มเติม จัดทำรายงาน และนำเสนอผลงาน 
2.3.1    สอบกลางภาค สอบปลายภาค ด้วยข้อสอบที่เน้นการวัดหลักการ และกระบวนการ แนวคิด  2.3.2    ประเมินจากการปฏิบัติงานเป็นระยะ และจากการนำเสนอผลงาน   
3.1.1 พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ ปัญหาในการท างาน หาความต้องการ เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น สามารถปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ  
3.2.1   บรรยาย กำหนดแนวทางของการปฏิบัติงาน และการให้นักศึกษาปฏิบัติงานที่มีการวิเคราะห์ แก้ไขปัญหา การวางแผน และคิดพัฒนาผลงาน  3.2.2   การวิภาคสะท้อนแนวคิด การแก้ปัญหา จากผลงาน และการปฏิบัติงาน 
3.3.1   สอบกลางและปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์แนวคิดในการท างาน การแก้ไขปัญหา และการลำดับกระบวนการในการทำงานอย่างเป็นระบบ  3.3.2   วัดผลจากการประเมินผลงานทั้งที่เป็นชิ้นงาน และเอกสาร  3.3.3   สังเกตพฤติกรรมการแก้ไขปัญหาในการทำงาน และการตอบคำถามในการนำเสนอผลงาน 
4.1.1   พัฒนาทักษะในการสร้างสัมพันธภาพระหว่างผู้เรียนด้วยกัน และบุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้อง  4.1.2   พัฒนาการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีความรับผิดชอบในงานที่มอบหมายให้ครบถ้วนตามกำหนดเวลา  
4.2.1   มอบหมายงานปฏิบัติเป็นกลุ่ม ที่ต้องมีส่วนเกี่ยวข้องกับสังคม หรือผู้บริโภค   4.2.2   การให้ค้นคว้าหาข้อมูลด้วยตนเอง และการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเพื่อนร่วมชั้น 
4.3.1   ประเมินตนเอง และจากเพื่อนร่วมชั้น ด้วยการวิภาควิจารณ์ผลงาน  4.3.2   ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ และผลสะท้อนจากผู้เกี่ยวข้อง  4.3.3   ประเมินจากผลจากการค้นคว้าหาข้อมูล การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างบุคคล ที่นำมาใช้ในผลงาน 
5.1.1   ทักษะการคิดค านวณ เชิงตัวเลข  5.1.2   พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง  การเขียน  
5.2.1   มอบหมายงาน ก าหนดแนวทาง ให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง จากระบบสารสนเทศ โดยเน้นการอ้างอิง จากแหล่งที่มาของข้อมูลที่น่าเชื่อถือ สามารถอ้างอิงถึงแหล่งข้อมูลได้  5.2.2   ให้นำเสนอผลการค้นคว้าโดยใช้ ภาษา รูปแบบ สื่อ และเทคโนโลยีการน าเสนอที่เหมาะสม 
5.3.1   ประเมินจากผลงาน และรูปแบบการหาข้อมูลด้วยสื่อเทคโนโลยี  5.3.2   ประเมินจากการนำเสนอ การอธิบาย การใช้ภาษา การใช้สื่อเทคโนโลยี และวิธีการอภิปราย 
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 1 2 3 4 1 2 3
1 43042041 การถ่ายภาพแฟชั่น
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 สอบกลางภาค สอบปลายภาค 9 17 15% 15%
2 การปฏิบัติงานและผลงาน ตลอดภาคการศึกษา 60%
3 การเข้าชั้นเรียน การแต่งกาย การส่งงานตามเวลาที่กาหนด ตลอดภาคการศึกษา 10%
 1. เครือจิต ศรีบุญนาค. สุนทรียภาพของชีวิต. กรุงเทพฯ : เธิร์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น. 2542. 2. สุชาติ เถาทอง. ศิลปะกับมนุษย์. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 2532. 3 นพวรรณ หมั้นทรัพย์. การออกแบบเบื้องต้น. เชียงใหม่ : โชตนาพริ้นท์. 2521. 4. นวลน้อย บุญวงษ์. หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2539. 5. วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. ศิลปะกับชีวิต. กรุงเทพฯ : คอมแพคท์พริ้นท์. 2537. 6. อารี รังสินันท์. ความคิดสร้างสรรค์. กรุงเทพฯ : ธนะการพิมพ์. 2527. 7. บุญเยี่ยม แย้มเมือง. สุนทรียะทางทัศนศิลป์. กรุงเทพฯ : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส์. 2537. 8. Eliot Siegel. The Fashion Photography Course. London : Thames & Hudson Ltd. 2008. 9. www.Nikon.com 10. www.hasselblad.se 11. www.lexar.com 12. www.Sinar.ch 13. http://funnymadworld.blogspot.com 14. http://www.digitalcameraworld.com/2012/05/02/54-portrait-ideas-free-downloadable-posing-guide/
ไม่มี
เว็บไซต์ ที่เกี่ยวกับการถ่ายภาพ, การถ่ายภาพแฟชั่น
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาไว้ดังนี้ 1.1 การถามตอบ การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน 1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชาของมหาวิทยาลัย
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ 2.1 การสังเกตการเรียนและพฤติกรรมการแสดงออกของผู้เรียน 2.2 ผลการสอบ ผลการทางาน และผลงานของนักศึกษา 2.3 การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ 3.1 การประชุมผลการเรียนการสอน และประชุมผู้สอนเพื่อพิจารณาผล 3.2 การจัดทำและปรับปรุงแผนการสอนประจาปี
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา และการตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ 4.1 การทวนสอบการให้คะแนนจากผลงานของนักศึกษาโดยเปรียบเทียบกับผลงานนักศึกษาในรุ่นก่อนๆ 4.2 มีการตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ การให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ 5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุกปี หรือตามผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 5.2 เปลี่ยนหรือสลับกระบวนการสอน เพื่อให้มีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้กับปัญหาที่มาจากประสบการณ์ในการเรียนการสอนกับการทำงาน