การวางแผนและพัฒนาการท่องเที่ยว

Tourism Planning and Development

1.วัตถุประสงค์ของรายวิชา: เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แล้ว นักศึกษามีสมรรถนะที่ต้องการในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1.1เพื่อผลิตและพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ ความสามารถ มีบุคลิกภาพและทักษะในวิชาชีพสามารถปฏิบัติงานด้านทรัพยากรมนุษย์สามารถนำความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพในอนาคตได้
1.2เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรด้านการท่องเที่ยวที่สามารถตอบสนองต่อยุทธศาสตร์ของท้องถิ่นและของประเทศ
1.3เพื่อปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมระเบียบวินัย ความซื่อสัตย์ มีใจรักงาน และสำนึกในจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ความรับผิดชอบต่อสังคม ตระหนักในหน้าที่ที่จะต้องดำรงรักษาไว้ซึ่งทรัพยากรการท่องเที่ยว  ศิลปวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของไทย
 
เพื่อให้นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ ซึ่งประกอบด้วยธุรกิจหลายประเภท ทั้งธุรกิจที่เกี่ยวข้องโดยตรงและธุรกิจที่เกี่ยวข้องโดยทางอ้อม ซึ่งจะทำให้นักศึกษาสามารถจัดลำดับความสำคัญของตลาดเป้าหมายได้ วิเคราะห์สถานการณ์และสภาพแวดล้อมทางการแข่งขันได้ ตลอดจนการวางแผนพัฒนาการตลาด การกำหนดกลยุทธ์ทางการตลาดสำหรับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวและบริการได้เป็นอย่างดี
 
 
 
 
 
ศึกษานโยบายและแผนพัฒนาการท่องเที่ยวทั้งในระดับภูมิภาคและระดับชาติตามกรอบความร่วมมือระหว่างประเทศตลอดจนระดับท้องถิ่นหลักการและองค์ประกอบการวางแผน วิธีการจัดดำเนินการ การติดตามประเมินผล รูปแบบของการพัฒนา การส่งเสริมการตลาดท่องเที่ยวทั้งในและต่างประเทศ
วันจันทร์ พุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้องสาขาการท่องเที่ยว โทร.081-9934721
   e-mail;chatsungnern1@hotmail.com เวลา 20.00 - 21.00 น. ทุกวัน
š1.1 มีความซื่อสัตย์สุจริตและสามารถจัดการปัญหาด้านจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ
š1.2 มีทัศนคติที่ดีต่ออาชีพ และแสดงออกซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในการปฏิบัติงาน
š1.3 มีความรับผิดชอบในหน้าที่
š1.4 มีวินัยมีความตรงต่อเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับ
-  เน้นย้ำการเข้าชั้นเรียนตรงเวลา ปฏิบัติตามกฎระเบียบของห้องเรียน และความร่วมมือต่าง ๆ
-  อภิปรายกลุ่มในชั้นเรียน
-สอดแทรกกรณีตัวอย่างที่เกี่ยวข้องและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
- ประเมินผลจากพฤติกรรมที่แสดงออกในชั้นเรียนและในโอกาสที่โปรแกรมวิชา/คณะจัดกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทางด้านคุณธรรมและจริยธรรม การมีสัมมาคาราวะต่อผู้อาวุโสและอาจารย์
- การตรวจสอบการมีวินัยต่อการเรียน การตรงต่อเวลาในการเข้าชั้นเรียน การส่งรายงาน
-นักศึกษาประเมินตนเอง
˜2.1 มีความรู้และความเข้าใจทั้งด้านทฤษฎีและหลักการปฏิบัติในเนื้อหาที่ศึกษา
˜2.2 มีความรู้ที่เกิดจากการ บูรณาการความรู้ในศาสตร์ต่างๆ
š2.3 มีความรู้ในกระบวนการและเทคนิคการวิจัย
-  บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง
-  อภิปรายหลังการทำกิจกรรม หรือสถานการณ์จำลอง
-  การทำงานกลุ่มและนำเสนอรายงานจากการค้นคว้า
-  การวิเคราะห์กรณีศึกษาเพื่อเปรียบเทียบกับทฤษฎีต่าง ๆ ที่เรียน และนำเสนอรูปแบบต่าง ๆ
-การศึกษาโดยใช้ปัญหาเป็นหลักในการเรียนรู้  (Problem – based Learning)
- การทดสอบย่อย
- การสอบกลางภาคและปลายภาค
- รายงานและการนำเสนอรายงานในชั้น เรียน
˜3.1 มีความสามารถประมวลและศึกษาข้อมูลเพื่อวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา รวมทั้งหาแนวทางป้องกันแก้ไขทั้งเชิงกว้างและเชิงลึก
š3.2 สามารถสาธิต ทักษะในการแก้ปัญหาที่ใช้เหตุผลเชิงวิเคราะห์ให้ผู้อื่นเข้าใจ
š3.3 มีความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติจริงตามสถานการณ์
š3.4 สามารถประยุกต์ใช้นวัตกรรมจากภาคธุรกิจ
-  ร่วมกิจกรรม สถานการณ์จำลอง บทบาทสมมุติแล้วอภิปรายกลุ่ม  พร้อมกับรายงานทั้งด้านวาจาและการเขียน
- ฝึกการเขียนรายงานอย่างเป็นขั้นตอนและหาแนวทางแก้ไขได้ (Solving Problem)
- รายงานและการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
-ประเมินจากการอภิปรายร่วมกันในชั้นเรียน
š4.1  สามารถปฏิบัติและรับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
š4.2  สามารถพัฒนาตนเองและพัฒนาวิชาชีพให้ทันสมัย
-จัดกิจกรรมกลุ่มในการทำรายงานหรือสถานการณ์จำลอง แล้ววิเคราะห์หาสาเหตุ
- นักศึกษาประเมินผลตนเองและเพื่อนด้วยแบบฟอร์มที่กำหนด 
-ประเมินผลจากการทำงานเสร็จตรงเวลามีความรับผิดชอบทั้งต่ออาจารย์ และเพื่อนในกลุ่มได้
š5.1 สามารถใช้ภาษาต่างประเทศใน การฟัง พูด อ่าน และเขียนอย่างมีสิทธิภาพ
š5.2 สามารถสื่อสารกับชาวต่างประเทศได้
˜5.3 สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
š5.4 สามารถใช้เทคนิคพื้นฐานทางคณิตศาสตร์และสถิติ
-  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง  ทางเว็บไซต์  แล้ววิเคราะห์พร้อมกับนำเสนอ ทั้งแบบบรรยาย  และตารางตัวเลข  พร้อมกับบอกแหล่งอ้างอิง
-  นำเสนอผลการศึกษาข้อมูล  พร้อมการวิเคราะห์และนำเสนอในรูปแบบเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- ประเมินจากเทคนิคการนำเสนอโดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หรือคณิตศาสตร์และสถิติ
- ข้อสอบกลางภาคและปลายภาค
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 1 2 3 4
1 BOATH133 การวางแผนและพัฒนาการท่องเที่ยว
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1,1.2,1.3,1.4,3.1,3.2,3.3,3.4 การเข้าชั้นเรียน การส่งรายงานตรงเวลา การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน 1-18 10%
2 4.1,4.2 การมีส่วนร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน ทุกสัปดาห์ 10%
3 2.1,2.2,2.3,3.1,3.2,3.3,3.4 การทดสอบย่อย 3 ครั้ง 4,6,11 10%
4 2.1,2.2,2.3,3.1,3.2,3.3,3.4 การสอบกลางภาค 8 20%
5 3.1,3.2,3.3,3.4,4.1,4.2,5.1,5.2,5.3,5.4 การนำเสนองาน/การรายงาน 14 20%
6 2.1,2.2,2.3,3.1,3.2,3.3,3.4 การสอบปลายภาค 18 30%
   ชูเกียรติ  ศิริวงศ์, การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา 2554 (เอกสารประกอบการสอน)
ฉลองศรี พิมลสมพงศ์ , การวางแผนและพัฒนาตลาดการ, ภาควิชาศิลปาชีพ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่, 2. : ‎2542
 
      
 
 
  แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่ 2
ศึกษาข้อมูลงานวิจัยด้านการวางแผนการท่องเที่ยวอิเล็กทรอนิกส์ทางเว็บไซต์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
1.ในวันแรกของการเรียนการสอน อาจารย์ผู้สอนอธิบายให้นักศึกษาเข้าใจถึงการปรับปรุงรายวิชานี้จากการเรียนการสอนในภาคการศึกษาที่ผ่านมา และประโยชน์จากข้อคิดเห็นของนักศึกษาต่อการพัฒนารายวิชาเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นต่อการพัฒนารายวิชาในช่วงปลายของภาคการศึกษา
2.ให้นักศึกษาประเมินพัฒนาการของตนเองโดยเปรียบเทียบ ความรู้ ทักษะในการประมวล-คิดวิเคราะห์ก่อนและหลังการเรียนรายวิชานี้
3.ส่งเสริมให้นักศึกษาแสดงความคิดเห็นต่อการเรียนการสอน และการพัฒนารายวิชาผ่านระบบการประเมิน online ของมหาวิทยาลัยแ
อาจารย์ผู้สอนประเมินการสอนด้วยตนเอง ดูผลการเรียนของนักศึกษา และทำรายงานสรุปพัฒนาการของนักศึกษา ปัญหา อุปสรรค และแนวทางแก้ไขหรือการเปลี่ยนแปลง/ปรับปรุงรายวิชา
1.การประมวลความคิดเห็นของนักศึกษา การประเมินการสอนของตนเองและสรุปปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไขเมื่อสิ้นสุดการสอน เพื่อเป็นข้อมูลเบื้องต้นในการปรับปรุงรายวิชาในภาคการศึกษาต่อไป
2.การวิเคราะห์ในชั้นเรียน เพื่อพัฒนารูปแบบ วิธีการเรียนการสอน และวิธีการฝึกปฏิบัตินอกสถานที่
3.การปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาให้ทันสมัยและเหมาะสมกับรุ่นต่อไป
1.ให้อาจารย์แสดงตัวอย่างการประเมินผลในรายวิชาเพื่อการทวนสอบ
2.(อาจ) ให้กรรมการทวนสอบ สุ่มตรวจสอบการให้คะแนนในรายวิชาหรือรายงานของผู้เรียน
3.เปรียบเทียบการให้คะแนนข้อสอบแต่ละข้อในรายวิชา ตามเกณฑ์ที่กำหนด
4.(อาจ) จัดทำข้อสอบมาตรฐานสำหรับรายวิชา (หรือกับสถาบันในเครือข่าย)
5.สำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับคำถามในข้อสอบจากผู้ใช้บัณฑิต เพื่อปรับมาตรฐานข้อสอบ
1.นำข้อคิดเห็นของนักศึกษาจากข้อ 1 มาประมวล เพื่อจัดกลุ่มเนื้อหาความรู้ที่ต้องปรับปรุง วิธีการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และรูปแบบของการศึกษาการปฏิบัติงานนอกสถานที่ ผลจากการประมวลจะนำไปปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในรุ่นต่อไป
2.นำผลการประเมินการสอนของตนเองจากข้อ 2 มาจัดกลุ่มเทียบเคียงกับข้อคิดเห็นของนักศึกษา เพื่อพัฒนาเนื้อหาสาระให้ทันสมัย ปรับวิธีการเรียนการสอน และวิธีการประเมินผลให้ตรงกับผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง