ประวัติและแบบอย่างศิลปะตะวันออก

History and Style of Eastern Art

 1. รู้เข้าใจและเห็นคุณค่าประวัติความเป็นมาของศิลปะตะวันออกแต่ละยุคสมัย   2. รู้เข้าใจและเห็นคุณค่าเนื้อหาของศิลปะตะวันออกแต่ละยุคสมัย  3. รู้เข้าใจและเห็นคุณค่าวิธีการสร้างสรรค์ศิลปะตะวันออกแต่ละยุคสมัย  4. รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย
เพื่อเป็นการพัฒนาการเรียนการสอน ให้เข้ากับสภาวะสังคมในปัจจุบัน
ศึกษาเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของศิลปะตะวันออก โดยเน้นการเรียนรู้รูปแบบ เนื้อหา วิธีการสร้างสรรค์ของยุคสมัยต่างๆ
อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ (เฉพาะรายที่ต้องการ)
ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม  มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
การขานชื่อ การเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา การแต่งกาย  และปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้องระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย การแสดงความคิดเห็นของตนเอง และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น  
คะแนนจิตพิสัย คะแนนความสนใจ ความกระตือรือร้น และการแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตร์อื่นที่เกี่ยวข้อง มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา        
ศึกษาค้นคว้าผลงานศิลปะในประวัติศาสตร์ตะวันออกในแขนงต่างๆ เช้่น สถาปัตยกรรม ประติมากรรม และจิตรกรรม   
การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน  
สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาน สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้
ใช้กรณีศึกษา  การจัดทำโครงงาน  หรือการจัดทำศิลปนิพนธ์  การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปข้อมูล   การนำเสนองาน โดยอภิปรายเดี่ยวหรือกลุ่ม ร่วมแสดงความคิดเห็น
การให้คะแนนจากผลงานปฏิบัติ จากการนำเอาความรู้ัที่เรียนไปประยุกต์กับการสร้างสรรค์งานศิลปะ
มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และ มนุษยสัมพันธ์ที่ด มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1. สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม  มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม   การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น   การประสานงานกับบุคคลภายนอก   การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น 
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกในการนำเสนองาน และผลงานกลุ่มในชั้นเรียนและประเมินจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ 
1. สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ประเมินจากความถูกต้องในการใช้ข้อมูลและตัวเลข  การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม   ประเมินจากการอธิบาย  การนำเสนอ   
การค้นคว้าการทำรายงาน และการสืบค้นข้อมูลที่นอกเหนือจากเนื้อหาที่เรียน
-
-
-
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรมจริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 6.ทักษะพิสัย
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 1 2 3 1 2 3 1 2 3
1 BFAVA104 ประวัติและแบบอย่างศิลปะตะวันออก
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.1 1.2 การขานชื่อ การเข้าชั้นเรียน และการส่งงานตรงเวลา การแต่งกาย และปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้องระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัย การแสดงความคิดเห็นของตนเอง และยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ตลอดภาคการศึกษา 10 %
2 2.1 2.4 3.1 3.3 การทดสอบย่อย การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำ ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้นเรียน ประเมินจากผลงานที่ปฏิบัติ 3, 5, 8, 9, 12, 14, 16, 17 90 %
กำจร สุนพงษ์ศรี. (2553). ประวัติศาสตร์ศิลปะอินเดีย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เชษฐ์ ติงสัญชลี. (2558). ประวัติศาสตร์ศิลปะอินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. นนทบุรี: มิเซียมเพรส.
ปัญญา เทพสิงห์. (2548). ศิลปะเอเชีย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุภัทรดิส ดิศกุล, มจ. (2534). ศิลปะอินเดีย. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา.
สุภัทรดิส ดิศกุล, มจ. (2538). ประวัติศาสตร์ศิลปะประเทศใกล้เคียง. กรุงเทพฯ: มติชน.
Basil Gray. (1981). The art of India. Britain: Phaidon press limited 1981.
David Bellingham, Clio Whittaker, John Grant. (1996). Myths and legends. London: Quantum books Ltd.
Gilles Beguin. (2009). Buddhist art historical and cultural journey. Bangkok: River books Co.Ltd. 
Piriya Krairiksh. (2012). The root of Thai art. Bangkok: River book.
 เนื้อหาประวัติศาสตร์ศิลปะตะวันออก ที่ใช้สอน โปรแกรม Power Point
เว็บไซด์ที่เกี่ยวกับศิลปะตะวันออก,Eastern Art
การบรรยายอย่างมีส่วนร่วม แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
1.   การสังเกตการณ์สอน  2.   ผลการเรียนของนักศึกษา  3.   การทบทวนบทเรียนและความเข้าใจในเนื้อหาทั้งหมด
ค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อประกอบการเรียนรู้ในการพัฒนานักศึกษา
การให้คะแนนจากการทดสอบเก็บคะแนน และค้นคว้ารายงาน
ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4  ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่าง ๆ