ภาษาและวัฒนธรรมไทย

Thai Language and Culture

1.   เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมไทย
2.  เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมไทยในความเป็นครู
3.  เพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาไทยฐานะเป็นเครื่องมือในการเรียนการสอนและการสื่อความหมาย
4.  เพื่อใช้ภาษาและวัฒนธรรมไทยเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
 
     เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมไทย  สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมไทยในความเป็นครู  พัฒนาทักษะทางภาษาไทยฐานะเป็นเครื่องมือในการเรียนการสอนและการสื่อความหมาย  และใช้ภาษาและวัฒนธรรมไทยเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
      ศึกษาเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของภาษาและวัฒนธรรมไทย  ภาษากับการสืบทอดทางวัฒนธรรม  ภาษาและวัฒนธรรมไทยเพื่อความเป็นครู  ทักษะการฟัง การอ่าน การพูด และการเขียนภาษาไทยสำหรับการเรียนการสอนและสื่อความหมายอย่างถูกต้อง การใช้ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
จัดให้นักศึกษาพบอาจารย์เพื่อขอคำปรึกษา และคำแนะนำสัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง
    3.1  วันพุธ ศุกร์ เวลา 15.00 - 16.30 น. ห้อง 1221
    3.2  e-mail; Theewara555@gmail.com เวลา 17.00 - 21.00 น.
    3.3  Facebook; Theewara Saengin poy เวลา 16.00 - 18.00 น.
 
 
1.  แสดงออกซึ่งจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพครู ที่เสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน
2. สามารถจัดการและคิดแก้ปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู
3. แสดงออกซึ่งการมีวินัย ขยัน อดทน เสียสระ ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ดี
4. เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
1.  กำหนดเกณฑ์การเข้าชั้นเรียนตรงต่อเวลา การแต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
2. มีการทำงานกลุ่ม
3. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เสียสละแก่ส่วนรวม
1.  พฤติกรรมที่แสดงออก  ได้แก่ ความตรงต่อเวลา  ความรับผิดชอบ ความเอาใจใส่  ความสนใจ และการมีส่วนร่วม
2. แฟ้มสะสมงานตลอดทั้งภาคเรียน
3. ประเมินผลการเรียนรู้จากโครงการเรียนรู้
4. ประเมินผลการสอบประเมินผลการเรียนรู้ (QE)
 
1. มีความรอบรู้ในด้านความรู้ทั่วไป วิชาชีพครู และวิชาชีพเฉพาะ อย่างกว้างขวาง ลึกซึ้ง และเป็นระบบ
2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีในสาขาวิชาชีพเฉพาะ รวมทั้งคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าองค์ความรู้ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมทั้งตระหนักถึงความสำคัญของงานวิจัยเพื่อต่อยอดองค์ความรู้
3. สามารถนำหลักการและทฤษฎีในองค์ความรู้ที่ได้ศึกษาไปบูรณาการข้ามศาสตร์ และบูรณาการกับโลกแห่งความเป็นจริงได้อย่างเหมาะสม
1.  บรรยายร่วมกับอภิปราย การทำงานกลุ่ม กรณีศึกษา การใช้สื่อมีเดีย การวิเคราะห์งาน และมอบหมายงานที่เกี่ยวข้อง
2. ให้ทำแบบฝึกหัด แบบทดสอบ
3. นักศึกษาไปค้นคว้าเพิ่มเติม จัดทำเป็นรายงาน และนำเสนอรายงานในชั้นเรียน
1.  สอบย่อยระหว่างเรียนด้วยแบบทดสอบ
2. การศึกษาค้นคว้า การทำรายงาน และงานที่มอบหมาย
3. ทดสอบกลางภาค และปลายภาค
4. ประเมินจากการมีส่วนร่วมในชั้นเรียน
1.  มีจินตนาการในการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจ และแก้ปัญหาที่มีความสลับซับซ้อน ในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนานวัตกรรม
2. มีทักษะในการเป็นผู้นำความรู้เพื่อการสืบค้นข้อมูล วินิจฉัย วิเคราะห์ และสรุปประเด็นของสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ
1.  บรรยายและอภิปราย การใช้สื่อมีเดียต่าง ๆ การใช้กรณีศึกษา การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันในชั้นเรียน
2. การมอบหมายให้นักศึกษาแสดงการทำรายงาน ชิ้นงาน และนำเสนอผลการศึกษา
1.  เก็บคะแนนย่อย โดยการปฏิบัติจริง
2. สังเกตพฤติกรรมการมีส่วนร่วมในการอภิปรายในชั้นเรียน
1.  แสดงออกถึงการ่มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถรับรู้ความรู้สึกของผู้อื่นและมีวุฒิภาวะทางอารมณ์
2. แสดงออกถึงการมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามที่สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการแก้ไขสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม
3. สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ การทำงานเป็นทีม ช่วยเหลือและเอื้อต่อการแก้ไขข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์
4. สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้เพื่อให้เกิดความปลอดภัยในการทำงาน และมีจิตสำนึกต่อสังคมด้านการนำความรู้ในศาสตร์มาช่วยเหลือได้อย่างเหมาะสม
1.  มอบหมายงานกลุ่มในการศึกษาค้นคว้า
2. มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
1.  ประเมินจากกระบวนการทำงาน และผลงานกลุ่ม
2. รายงานการศึกษาและชิ้นงานค้นคว้าด้วยตนเอง
3. พฤติกรรมการทำงานเป็นทีม
1.  มีทักษะในการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารทั้งที่เป็นตัวเลขเชิงสถิติ คณิตศาสตร์ ภาษาพูดและภาษาเขียน อันมีผลทำให้สามารถเข้าใจคองค์ความรู้หรือประเด็นปัยหาได้อย่างรวดเร็ว
2. สามารถใช้ดุลยพินิจในการสืบค้น วิเคราะห์ ประมวลผล แปลความหมายและประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อแก้ไขปัยหาอย่างเหมาะสม
3. สามารถสนทนา เขียน และนำเสนอทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศเพื่อสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.  มอบหมายงานให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากwebsite สื่อการสอน e-learning  และทำรายงานโดยเน้นการใช้ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ
2. นำเสนอผลงานโดยใช้รูปแบบและเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสม
1.  การจัดทำรายงาน และนำเสนอด้วยสื่อมีเดียและเทคโนโลยี
2. การมีส่วนร่วมในการอภิปราย และวิธีการอภิปราย
1.  แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ด้านการปฏิบัติงานในวิชาชีพเฉพาะ วิชาชีพครู การบริหารจัดการในด้านเวลา เครื่องมือ อุปกรณ์และวิธีการที่มีรูปแบบหลากหลายอย่าง  บูรณาการและสร้างสรรค์
2. แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอนรวมถึงประยุกต์วิธีการสอนได้อย่างบูรณาการที่เหมาะสมกับเนื้อหา และสภาพของกลุ่มผู้เรียนที่หลากหลายอย่างมี  นวัตกรรม
1.  จัดนิทรรศการการแสดงผลงาน
2. สาธิตนวัตกรรมโดยผู้เชี่ยวชาญ
 
1.  พฤติกรรมจากกิจนิสัยในการปฏิบัติงาน
2. ประเมินผลจากโครงงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา(Ethics and Moral) 2. ด้านความรู้ที่ต้องได้รับ(Knowledge) 3. ด้านทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา(Cognitive Skills) 4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา(Interpersonal Skills and Responsibility) 5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ต้องพัฒนา (Numerical Analysis, Communication and Information Technology Skills) 6. ด้านทักษะการจัดการเรียนรู้
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1.1 แสดงออกซึ่งจิตสำนึกสาธารณะ และตระหนักในคุณค่าของคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพครู ที่เสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน 1.2 สามารถจัดการและคิดแก้ปัญหาทางคุณธรรมจริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู 1.3 แสดงออกซึ่งการมีวินัย ขยัน อดทน เสียสระ ตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม และเป็นแบบอย่างที่ดี 1.4 เคารพสิทธิและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น รวมทั้งเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ 2.1 กำหนดเกณฑ์การเข้าชั้นเรียนตรงต่อเวลา การแต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 2.2 สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการและเทคโนโลยีในสาขาวิชาชีพเฉพาะ รวมทั้งคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่าองค์ความรู้ด้วยวิธีการที่เหมาะสม รวมทั้งตระหนักถึงความสำคัญของงานวิจัยเพื่อต่อยอดองค์ความรู้ 2.3 สามารถนำหลักการและทฤาฎีในองค์ความรู้ที่ได้ศึกษษไปบูรณาการข้ามศาสตร์ และบูรณาการกับโลกแห่งความเป็นจริงได้อย่างเหมาะสม 3.1 มีจินตนาการในการใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจ และแก้ปัญหาที่มีความสลับซับซ้อน ในการประยุกต์ความรู้ทางด้านวิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนานวัตกรรม 3.2 มีทักษะในการเป็นผู้นำความรู้เพื่อการสืบค้นข้อมูล วินิจฉัย วิเคราะห์ และสรุปประเด็นของสารสนเทศอย่างมีวิจารณญาณและเป็นระบบ 4.1 แสดงออกถึงการ่มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี สามารถรับรู้ความรู้สึกของผู้อื่นและมีวุฒิภาวะทางอารมณ์ 4.2 แสดงออกถึงการมีภาวะความเป็นผู้นำและผู้ตามที่สามารถคิดริเริ่มสร้างสรรค์ในการแก้ไขสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม 4.3 สามารถวางตัวได้อย่างเหมาะสมตามบทบาท หน้าที่ การทำงานเป็นทีม ช่วยเหลือและเอื้อต่อการแก้ไขข้อขัดแย้งอย่างสร้างสรรค์ 5.1 มีทักษะในการเลือกใช้วิธีการและเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารทั้งที่เป็นตัวเลขเชิงสถิติ คณิตศาสตร์ ภาษาพูดและภาษาเขียน อันมีผลทำให้สามารถเข้าใจคองค์ความรู้หรือประเด็นปัยหาได้อย่างรวดเร็ว 5.3 สามารถสนทนา เขียน และนำเสนอทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศเพื่อสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 6.2 แสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการสอนรวมถึงประยุกต์วิธีการสอนได้อย่างบูรณาการที่เหมาะสมกับเนื้อหา และสภาพของกลุ่มผู้เรียนที่หลากหลายอย่างมี นวัตกรรม
1 TEDCC803 ภาษาและวัฒนธรรมไทย
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.2, 1.3, 1.4, 4.1, 4.2, 4.3, 4.4 การเข้าชั้นเรียน การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน การมีส่วนร่วม ทุกสัปดาห์ 10 %
2 1.3, 3.1, 3.2, 5.2 แบบฝึกหัด 2, 6, 7, 8, 14, 15 10 %
3 2.1, 2.3 สอบเก็บคะแนน 3 10 %
4 2.3, 3.2, 5.1, 5.3 ผลงานด้านทักษะการสื่อสาร 5, 10, 11, 12, 13, 16 20 %
5 2.1, 3.2 สอบกลางภาค 9 25 %
6 2.1, 3.2 สอบปลายภาค 17 25 %
เอกสารประกอบการสอนวิชาภาษาและวัฒนธรรมไทย
ประณีต ม่วงนวล และคณะ. 2560. ภาษาและวัฒนธรรม. กลุ่มวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จ
ปรีชา  ทิชินพงศ์. 2523. ลักษณะภาษาไทย, ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์.                                                                                                                                                                                                   
สมพร มันตะสูตร แพ่งพิพัฒน์. 2540. การเขียนเพื่อการสื่อสาร. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. 
วิเศษ  ชาญประโคน. 2550. ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร, ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น. 
เอกฉัท  จารุเมธีชน. 2539. การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์
 
-
การประเมินประสิทธิผลรายวิชานี้ ที่จัดทำโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนำแนวคิดและความเห็นจากนักศึกษาได้ดังนี้
1.1 การสนทนาระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน
1.2 แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ดังนี้
2.1   การสังเกตการสอนของผู้ร่วมทีมสอน
2.2   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.3   การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ  2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
3.1   สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
3.2  การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ในวิชา ได้จากการสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ ดังนี้
4.1  การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจำหลักสูตร
4.2 มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา  ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดยตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
5.1 ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
5.2 เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์