การสื่อสารสำหรับงานออกแบบสื่อ

Communication for Media Design

1เพื่อพัฒนาให้นักศึกษามีทัศนคติเปิดกว้างยอมรับความคิดเห็นผู้อื่น
2.มีความรู้ในศาสตร์หลักการสื่อสาร ที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคมภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
3.สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ นำหลักการสื่อสารไปใช้ในชีวิตประจำวัน และงานออกแบบสื่อสาร
4.สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลและตรงไปตรงมาและเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง
5.สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อปรับปรุงเนื้อหาด้านการสื่อสารในบริบทวัฒนธรรมภาคเหนือ   การประยุกย์ใช้การสื่อสารในงานออกแบบสื่อ และเรื่องสัญญะเบื้องต้นในการออกแบบสื่อสาร   วีธีการสอนเน้นกิจกรรม  การค้นคว้าและนำเสนอความคิดเห็น
     ศึกษาความหมาย  องค์ประกอบ  บทบาทหน้าที่ของการสื่อสาร   วิวัฒนาการการสื่อสาร การแบ่งประเภทการสื่อสาร แบบจำลองการสื่อสาร   การสื่อสารในสังคม  สื่อใหม่และเทคโนโลยีสารสนเทศ การประยุกต์ใช้หลักการสื่อสารในงานออกแบบสื่อ
Study of the meaning, composition, role of communication, evolution of communication, assortment of communication, communication models, social communication, new media information technology and application of principles of communication in media design.
-   นักศึกษาสามารถเข้าพบและขอคำปรึกษาได้นอกเวลาเรียนตามต้องการ
 -    อาจารย์จัดเวลาให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตามความต้องการ 1 ชั่วโมง/สัปดาห์(เฉพาะรายที่ต้องการ)
มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น
สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการในการเรียนการสอน  การทำกิจกรรมกลุ่ม รวมทั้งการศึกษาค้นคว้าต่างๆ การวิพากษ์วิจารณ์งานหรือสถานการณ์ต่างๆ การตั้งกฎกติกาในการทำงานและการอยู่ร่วมกัน
ประเมินจากการเข้าชั้นเรียน
การ่วมกิจกรรมในชั้นเรียน  กิจกรรมหลักสูตร
การทำงานงานกลุ่ม   การแสดงความคิดเห็นในชั้นเรียน
ผลงานกลุ่ม
ประเมินโดยกลุ่ม
รอบรู้ในศาสตร์ทางหลักการสื่อสาร และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้องอื่นๆที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร (ดำ)
มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม (ขาว)
ใช้การเรียนการสอนหลากหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักการทางทฤษฎี และการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน
การบรรยาย   การอภิปราย
กิจกรรมกลุ่ม   กรณีศึกษา   
การใช้ตัวอย่างจากสื่อ
การศึกษาค้นคว้า  การทำรายงาน
การทำแบบฝึกหัด  
การสอบ ย่อย  สอบกลางภาค ปลายภาค
แบบฝึกหัด
รายงาน
สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ (ดำ)
สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ (ขาว)
ใช้กรณีศึกษา กิจกรรมในห้องเรียน  ค้นคว้าทำรายงาน   การมอบหมายงานให้นักศึกษาสืบค้นข้อมูลวิเคราะห์ และนำข้อมูลมาออกแบบสื่ออย่างง่ายๆ
ประเมินจากการายงาน
ประเมินจากผลงานกิจกรรม
ประเมินจากงานมอบหมาย
ประเมินผลจากรายงาน
สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่างๆ
การบรรยาย    การอภิปราย   การมอบหมายงานกลุ่ม  กิจกรรมกลุ่ม  การแสดงความคิดเห็น
สอดแทรกเรื่องความสำคัญของการมีมนุษยสัมพันธ์ การมีมารยาททางสังคม  มอบหมายงานหรือจัดกิจกรรมโดยหมุนเวียนกันทำหน้าที่ผู้นำและผู้ตาม การเคารพสิทธิและการยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น   การประสานงานกับบุคคลภายนอก การแสดงความคิดเห็น และการวิพากษ์วิจารณ์งานของผู้อื่น
สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ดำ)
มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม (ขาว)
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา ให้นักศึกษาฝึกค้นคว้า  ใช้สื่อ ใชเทคเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน และการค้นหาข้อมูลจากหลายแหล่งข่าวสาร การกลั่นกรองข่าวสาร
ประเมินจากกิจกรรมในห้องเรียน
ประเมินจากการนำเสนองาน   ข้อมูลจากการศึกษาค้นคว้า
ประเมินจากการนำเสนอด้วยสื่อ  และวาจา
(ดำ)lมีทักษะในการหาแนวทางปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้องด้วยตนเอง
(ขาว)มีทักษะในการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ผลงาน
การปฏิบัติงานในชั้นเรียน
งานมอบหมาย
ประเมินจากผลงานปฏิบัติ ชิ้นงาน  องค์ประกอบของงาน
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
กลุ่มวิชา 1.คุณธรรม จริยธรรม 2.ความรู้ 3.ทักษะทางปัญญา 4.ทักษะความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5.ทักษะการวิเคราะห์ เชิงตัวเลขและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ลำดับ รหัสวิชา ชื่อวิชา 1 ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย และมีความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 2มีทัศนคติที่เปิดกว้าง ยอมรับฟังแนวคิดของผู้อื่น 3มีจิตอาสา จิตสำนึกสาธารณะ 1รอบรู้ในศาสตร์ทางศิลปกรรม และศาสตรอื่นที่เกี่ยวข้อง 2มีความสามารถในการค้นคว้าแก้ปัญหา และพัฒนาทางด้านศิลปกรรมศาสตร์อย่างเป็นระบบ 3มีความรู้ในทางศิลปะที่สัมพันธ์กับบริบททางสังคม ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม 4มีความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานหรือธรรมเนียมปฏิบัติในการประกอบวิชาชีพด้านศิลปกรรมศาสตร์ในสาขาวิชาที่ศึกษา 1สามารถค้นคว้า รวบรวมและประเมินข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายอย่างมีวิจารณญาณ 2สามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้อย่างสร้างสรรค์ 3สามารถบูรณาการความรู้กับศาสตร์อื่นเพื่อสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการและวิชาชีพได้ 4มีความคิดสร้างสรรค์และมีปฏิภาณไหวพริบในการสร้างผลงาน 1มีภาวะผู้นำเข้าใจบทบาทหน้าที่ของตนเอง รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น และ มนุษยสัมพันธ์ที่ดี 2มีความรับผิดชอบต่องานของตนเอง และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3สามารถแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตรงไปตรงมา และเคารพในความคิดเห็นที่แตกต่าง 1สามารถสื่อสารด้วยการพูด ฟัง อ่าน เขียนในการสื่อสารโดยทั่วไป ตลอดจนใช้วิธีการสื่อสารทางศิลปกรรม และนำเสนองานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2สามารถเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นข้อมูลเพื่อการสร้างสรรค์ผลงานหรือการนำเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3มีความสามารถในการประยุกต์ใช้ความรู้เชิงตัวเลข หรือเทคโนโลยีที่เหมาะสมสำหรับงานศิลปกรรม
1 BAACD103 การสื่อสารสำหรับงานออกแบบสื่อ
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ * วิธีการประเมินผลนักศึกษา สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการประเมินผล
1 1.(2),4.(3),5.(2), การเข้าชั้นเรียน การตรงต่อเวลา การอ้างอิงข้อมูล การแสดงพฤติกรรมการอยู่ร่วมกัน การเรียน การแสดงความคิดเห็น การใช้สื่อนำเสนอ การพูดนำเสนองาน สื่อการนำเสนอ การเขียนการใช้ภาษา ตลอดภาคการศึกษา 20
2 2.(1),2(.3) สอบย่อย การสอบกลางภาค สอบย่อย ปลายภาค สัปดาห์ที่ 5 (สอบย่อย 1) สัปดาห์ที่ 9 (สอบกลางภาค) สัปดาห์ที่ 13 (สอบย่อย 2) สัปดาห์ที่ 17 (สอบปลายภาค) 40
3 2.(1),3.(1),3.(4), รายงานและผลงานจากการศึกษาค้นคว้า ผลกิจกรรมกลุ่ม ผลงานเดี่ยว งานมอบหมาย แบบฝึกหัด ตลอดภาคการศึกษา 40
1.หนังสือ ตำรา และเอกสารประกอบการสอนหลัก (E-book)
เพ็ญศรี   จุลกาญจน์.(2555).   เอกสารประกอบการสอนวิชาหลักการสื่อสาร   
          สาขาวิชาออกแบ   สื่อสาร  คณะศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ 
           มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา  ภาคพายัพเชียงใหม่
ไม่มี
  กิติมา สุรสนธิ  (2548). ความรู้ทางการสื่อสาร กรุงเทพฯ: คณะวารสารและ
                        สื่อสารมวลชน   มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
 กาญจนา  มีศิลปวิกกัย (2553) หลักและทฤษฎีการสื่อสาร  มหาวิทยาลัยศรีปทุม
 รจิตลักขณ์  แสงอุไร.(2548).การสื่อสารของมนุษย์.กรุงเทพฯ: โครงการตำราและเอกสารทาง
                       วิชาการ     คณะนิเทศศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ศุภรัศมิ์  ฐิติกุลเจริญ(2550).ทฤษฎีการสื่อสาร กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง
เน้นการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของผู้เรียนโดยใช้วิธีการดังนี้

เมือจัดการเรียนการสอนครึ่งภาคเรียน  อาจารย์รวบรวมคะแนนเสนอต่อนักศึกษา เพื่อปรับปรุงแก้ไขการเรียน  การแสดงความคิดเห็นของนักศึกษาต่อการเรียนการสอน  เพื่อปรับให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้

                 3.ปลายภาคการประเมินตนเองของผู้เรียน
          4.ประเมินผู้สอน
2.1   ผลการเรียนของนักศึกษา
2.2   ผลการประเมินตามข้อ 1
2.3   การพัฒนาการทำงานของนักศึกษา
2.4   อาจารย์ผู้สอนประเมินตัวเอง
         ความพึงพอใจการสอนความเหมาะสมของการเตรียมการสอ
       ข้อควรปรับปรุงในการสอนครั้งต่อไป
3.1  บันทึกการสอนเพื่อเสนอการปรับปรุงแก้ไข
3.2   การประชุมคณาจารย์เพื่อปรับปรุงการสอน  โดยใช้ข้อมูล ผลการประเมินของ  นักศึกษา  ผลการเรียนของนักศึกษา   การประเมินผลตนเอง  บันทึกการสอน
         4.1 นักศึกษาประเมินตนเอง
           4.2 ทวนสอบโดยกรรมการทวนสอบประจำหลักสูตร
          4.3 สัมภาษณ์นักศึกษาเป็นกลุ่ม
  จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา  ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอนและรายละเอียดวิชาในภาคการศึกษาต่อไป  ในเรื่อง เนื้อหาเพิ่มเนื้อหาเรื่องการประยุกต์ใช้หลักการสื่อสารกับการออกแบบ  เพิ่มเรื่องการสื่อในบริษทวัฒนธรรม   เน้นการสอนด้วยกิจกรรม